วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เฉลย คำถาม

Download เฉลย

วีดีโอเทคนิค การถ่ายภาพเบื้องต้น

เทคนิคการถ่ายภาพเบื้องต้น

คำถามจากการเรียนรู้

1. ไฟล์ภาพนามสกุลใดที่ให้ความละเอียดได้สูงที่สุด
ก. RAW                                                               ข. JPG
ค. TIFF                                                                ง. GIF

2. ไฟล์ภาพขนาดใดต่อไปนี้ที่สามารถนำไป Print ภาพได้ดีที่สุด
ก. 400x600 พิกเซล                                                  ข. 1200x1800 พิกเซล
ค. 2000x3000 พิกเซล                                               ง. 2600x3800 พิกเซล

3. ข้อใดคือขนาดภาพที่ได้จากกล้องที่มีความละเอียด 6 ล้านพิกเซล
ก. 400x600 พิกเซล                                                   ข. 1200x1800 พิกเซล
ค. 2000x3000 พิกเซล                                                ง. 2600x3800 พิกเซล

4. Memory Card ขนาด 1GB สามารถถ่ายภาพที่มีขนาด 1200x1800 พิกเซล ได้กี่ภาพ
ก. 240                                                                  ข. 380
ค. 420                                                                  ง. 460

5. อะไรที่ไม่ใช่ข้อดีของการตั้งค่าความไวแสง (ISO) ต่ำ
ก. เหมาะกับการถ่ายภาพในแสงแดดจ้า
ข. ได้ความไวชัตเตอร์ต่ำ เพื่อจะถ่ายภาพให้ดูเคลื่อนไหว
ค. ใช้แฟลชได้ในระยะใกล้
ง. รูรับแสงกว้าง ทำให้ฉากหลังพร่ามัว

6. ระบบวัดแสงในกล้องถ่ายภาพโดยทั่วไปจะเห็นวัตถุเป็นสีอะไร
ก. แดง                                                                    ข. เขียว
ค. น้ำเงิน                                                                  ง. เทา

7. แบบมีรูปหน้ากลมใหญ่ควรหลีกเลี่ยงทิศทางแสงแบบใด เพื่อให้ใบหน้าดูเรียวขึ้น
ก. แสงหน้า                                                               ข. แสงข้าง
ค. แสงหลัง                                                               ง. แสงบน

8. สภาพแสงใดต่อไปนี้เหมาะแก่การถ่ายภาพวัยรุ่นให้ดูสดใส
ก. แสงแข็ง                                                               ข. แสงนุ่ม
ค. แสงที่มีความเปรียบต่างสูง                                            ง. ถูกทั้งข้อ ข และ

9.
ข้อใดต่อไปนี้ให้ช่วงความชัดน้อยที่สุด (ชัดตื้น)
ก. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 100 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 2 เมตร
ข. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 3 เมตร
ค. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 100 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 3 เมตร
ง. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 2 เมตร

10. ข้อใดเป็นข้อจำกัดในการถ่ายภาพบุคคลด้วยกล้องคอมแพ็คมากที่สุด
ก. ถ่ายภาพมุมกว้างได้ยากมาก
ข. สีเพี้ยน
ค. เข้าใกล้แบบได้น้อย
ง. ทำฉากหลังเบลอได้ยาก

อ้างอิง

  • การถ่ายภาพเบื้องต้น มหาวิทยาลัยรามคําแหง
  • เรียนรูเทคนิคและศิลปการถายภาพ จาก บางกอกสาสน
  • ทฤษฎีถายภาพ หนังสืออรุณการพิมพ์
  • เว็บไซน์ www.google.com
  • เว็บไซน์ www.sanook.com

เทคนิคการถายภาพแบบตาง ๆ

การถายภาพบุคคล (Portraits)
    การถายภาพบุคคล เปนการถายใบหนา รูปราง บุคลิก การแตงกาย อารมณ ตลอด จนการออกทาทางของคน ๆ นั้น ในโอกาสตาง ๆ กัน ไมวาจะเปนการไปเที่ยว การไปตามสถานที่ งานเทศกาลตาง ๆ หรือถายภาพเพื่อเก็บไวเปนอนุสรณ ภาพบุคคลที่ดีนั้น จุดเดนอยูที่ตัวคน กอนกดชัตเตอรจึงควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
1. ตัวแบบอยูในทาที่ดูดีที่สุด ไมวาจะเปนใบหนา เครื่องแตงกาย ทาทาง การ แสดงออกของอารมณที่ตองการอยางเต็มที่
2. หลังฉากไมมีสิ่งรบกวนสายตา เชน มีตนไมยื่นออกมาเหนือศีรษะ มีคนอื่นอยู ดานหลังแบบ หรือเสน
ขอบฟาพาดอยูบริเวณคอ เปนตน หากเลี่ยงไมไดให เปดรูรับแสงใหใหญ เพื่อใหฉากหลังอยูนอกโฟกัส
3. ระวังแบบนัยนตาหยีหากถายยอนแสง
4. ไมควรใชเลนสมาตรฐานถายในระยะใกลมาก เพราะจะทําใหสัดสวนของใบ หนาบิดเบี้ยว ใหใช้
เลนสถายไกลแทนจะไดผลดีกวา เปนการทําใหหลังฉาก พรามัวดวย เลนสขนาด F 105 ม.ม. หรือ 135 ม.ม. เหมาะที่สุด
5. ดวงตาของแบบ บอกอารมณของภาพเปนอยางดี
6. แสงธรรมชาติที่มีตนแสงอยูสูง และเฉียงเปนมุม 45 องศา จากเสนแบงกลาง ของใบหนา จะทําใหเห็นรูปพรรณสันฐานไดชัดเจน และยังสรางเงาบนใบหนา ไดกลมกลืนนาดูอีกดวย ทําใหภาพมีมิติ ไมแบนจนขาดความสวยงาม

การถายภาพทิวทัศน (LandScape)
    ภาพทิวทัศนเปนอีกภาพหนึ่งที่นิยมถายกันมาก เปนการบันทึกบรรยากาศขณะนั้นไวใน ความทรงจํา เปนภาพที่อาศัยแสงจากธรรมชาติ ไดแก ภาพทิวเขา ภาพปาไม ทะเล เปนตน เนื่องจากภาพทิวทัศนมีพื้นที่กวาง ระยะชัดลึกจึงมีความสําคัญมาก ตองใชรูรับแสง เล็ก ๆ เพื่อ ใหไดภาพชัดลึกมาก ๆ ยกเวนในกรณีตองการเนนจุดเดนจริง ๆ เทานั้นอาจถายชัดตื้น โดยปกติควรใช F 11, F 22 และอาจตองชดเชยแสงโดยใชชัตเตอรชา ๆ ในกรณีที่มีแสงนอย การเลือกมุมภาพก็เปนสวนที่ตองระมัดระวัง มุมภาพที่แปลกออกไป จะทํ าใหภาพนั้นนาสนใจ ควรวางจุดสนใจตรงจุดตัดตามกฎสามสวน บางครั้งอาจตองใชฟลเตอรแกสีใหถูกตอง เพิ่มสีพิเศษหรือตัดแสง ตัดหมอก ในภาพ หากมีสิ่งมีชีวิตดวย จะเปนการเพิ่มสีสันใหกับภาพยิ่งขึ้น เลนสที่นิยมใช ไดแก เลนสมาตรฐาน 50 ม.ม., เลนสมุมกวาง 24 ม.ม., 35 ม.ม

การถายภาพยอนแสง (Silhouette)
    ภาพยอนแสงเปนการถายภาพที่แหลงกําเนิดแสงอยูดานหลังของแบบ ไมสนใจในราย ละเอียดหรือสีของแบบ แตไปเนนตรงรูปราง รูปทรงของวัตถุ (Shape) มักถายในชวงเชาหรือเย็น ขณะดวงอาทิตยใกลตกหรือตกใหม ๆ ซึ่งเปนเวลาที่แสงไมจัดและใหสีที่สวยงาม ไมวาจะเปนสี มวง สีแสด หรือสีแดงนักถายภาพควรเตรียมขาตั้งกลองและสายลั่นไกชัตเตอรไปดวย การวัดแสงจะตองวัดใหอันเดอร 2-3 สตอปและใชรูรับแสงที่เล็ก ควรถาย 3 ภาพเปนอยางนอย โดยใหรูรับแสงแตกตางกัน ระวังไมใหแสงเขาเลนสโดยตรง จะทําใหเลนสเสื่อมเสียหายได ถาตองการใหภาพมีสี
ของฉากหลัง มีความแปลกออกไปอาจใชฟลเตอรสีเขาชวย

การถายภาพกลางคืน (Night Picture)
    การถายภาพกลางคืนนั้น จะตองใชอุปกรณที่จํ าเปน คือขาตั้งกลอง สายลั่นไก ชัตเตอร นาฬิกาจับเวลาถาเปนชนิดเรืองแสงยิ่งดี ไฟฉายเล็ก ๆ ภาพกลางคืน เปนภาพที่อาศัยแสงจากดวงไฟตามทองถนน ปายโฆษณาตาง ๆ ไฟจากรถยนต พลุในเทศกาลตาง ๆ การประดับ ประดาของตึก อาคารบานเรือน พิธีเวียนเทียนในวันอาสาฬหบูชา ฯลฯ ไมควรใชแฟลชเนื่องจากแสงไฟในเวลากลางคืน มีความเขมของแสงนอย จําเปนตองใชความเร็ว ชัตเตอรชามาก ตํ่ากวา 1 วินาที และเปดรูรับแสงเล็ก เพื่อตองการความชัดลึกมาก ขาตั้งกลองและ สายลั่นไกชัตเตอร จึงมีความจําเปนอยางยิ่งเพื่อใหกลองนิ่งที่สุด

การถายภาพดอกไมและของเล็ก ๆ
    ดอกไมเปนผลิตผลจากธรรมชาติที่ใหความสวยงามกับโลก มีรูปทรงแบบตาง ๆ สีสัน สวยงาม ธรรมชาติของดอกไม ไมวาจะเปนดอกไมที่ปลูกไวในสวนสาธารณะ ในบาน หรือเปน ดอกไมปานานาพันธุ จะมีลักษณะพิเศษเฉพาะ มีรูปทรงหรือสีสันอันสวยสดงดงามกันคนละแบบ ตั้งแตยังเปนดอกตูม แรกแยม ไปจนกระทั่งเบงบานเต็มที่ กลีบของดอกไมโดยทั่วไปมักจะบาง เมื่อมีแสงสองมา
จากดานขาง หรือดานหลัง จะทําใหเกิดไรแสงตามขอบดอกสวยงามมาก ควรถา ดอกไมในเวลาเชา ดอกยังสดและมีนํ้าคางเกาะ ควรเตรียมที่ฉีดนํ้าไปดวย ชนิดที่ใชฉีดตอนรีดผา หากฉากหลังรกใหถายชัดตื้น หรือ ใชกระดาษสีดําเปนฉากหลัง ควรมีเลนสแมโคร 50 ม.ม. หรือเลนสโคลสอัพ จะไดภาพที่โตขึ้น การถายสิ่งของเล็ก ๆ ก็เชนกัน ควรวางแบบบนพื้นหลังที่เรียบ ไมสะทอนแสง เนื่อง จากชวงโฟกัสนอยมาก ควรปรับโฟกัสอยางชา ๆ และแมนยํา ไมเชนนั้นภาพอาจจะพรามัวได เพื่อใหกลองนิ่งอาจตองใชขาตั้งกลอง หรือแทนกอบป (Copy Stand) ชวยยึดกลอง

การถายภาพหุนนิ่ง (Still Life)
    ภาพหุนนิ่ง หมายถึง ภาพวัตถุสิ่งของตาง ๆ ที่มีขนาดไมใหญนัก สามารถนํามาจัดให เขาชุด มองดูสวยงาม ใชเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ เชน ภาพผลไม ภาพแจกันดอกไม ภาพตุกตา เปนตน
การถายภาพหุนนิ่ง เปนการถายภาพในรมหรือในหองสตูดิโอ ตองมีอุปกรณจําพวก ฉาก ไฟสองแบบตาง ๆ โตะวางแบบ และจัดแสงตามขั้นตอนดังนี้
1. จัดใหมีแสงหลัก เพื่อใหเกิดสวนที่สวางกับสวนที่มืด ทํ ามุม 40-60 องศา ซึ่งใกลเคียงกับแสงธรรมชาติ
2. จัดแสงรองเพื่อเปดเงา นิยมจัดแสงหลักตอแสงรองในอัตราสวน 3 : 1 หรือ 4 : 1
3. ฉากหลังควรเปนสีออนและแยกหางจากตัวแบบ

4. อาจจัดแสงเสริมตามความเหมาะสม

การถายภาพเด็ก
    ความไรเคียงสา ความนารักของเด็ก ๆ ทําใหนักถายภาพอดไมไดที่จะตองนํากลองออก
มาถาย เก็บภาพนารักเหลานั้นไวเปนที่ระลึก เด็ก ๆ ไมวาจะทําอะไรก็เปนธรรมชาติ ดังนั้น จึง ควรถายภาพเด็กในขณะที่ทํ ากิจกรรมของตน ไมวาจะเปนการเลน กิน หรือ กําลังสนใจสิ่งแวด ลอม หากไมมีควรหาของเลนไปใหเด็กไดเลน เพื่อละความสนใจจากกลอง ทําใหไดภาพที่เปน ธรรมชาติ เนื่องจากเด็กเล็กมักจะซุกซน การจะเขาไปจัดทาทางใหยอมเปนไปไมได การถายภาพ จึงตองใหผูชวย หาสิ่งของคอยหลอกลอ ดึงดูดความสนใจมาทาง กลองและทํ าใหเด็กเคลื่อน ไหวนอยลง ทํำใหปรับโฟกัสไดงาย บางครั้งอาจตองเตรียมของเลนมาดวย การเขาไปถายเด็ก ในระยะใกล จะทําใหเด็กเกร็งและไมเปนธรรมชาติจึงควรถายดวย เลนสถายไกล 105 ม.ม. หรือ 135 ม.ม. ยังเปนการขจัดฉากหลังที่รกรุงรังอีกดวย

การถายภาพเคลื่อนไหว
    ภาพเคลื่อนไหว เชน การแขงรถ กีฬา การละเลนตาง ๆ ควรใชกลองที่เปลี่ยนเลนสได ขอแนะนําวากลอง 35 ม.ม. สะทอนภาพเลนสเดี่ยวเหมาะที่สุด เลนส Zoom ขนาด 35-105 ม.ม., 70-210 ม.ม. หรือเลนสถายไกลขนาดตั้งแต 85 ม.ม. ขึ้นไปจะใชงานไดดีในการถายภาพสตอปแอ็คชั่น (Stop Action) จะตองใชความเร็วชัตเตอรสูงกวา 1/125 วินาที ทั้งนี้ขึ้นกับความเร็วของแบบ และทิศทางการเคลื่อนที่ เชน การวิ่งแขงขัน ควรใช ประมาณ 1/250 วินาทีก็นาจะพอ แตหากเปนการแขงรถมอเตอรไชด ตองใชไมตํ่ ากวา 1/500 วินาที ยกเวนเปนการถายภาพแพนนิ่ง คือ การถายโดยสายกลองไปตามการเคลื่อนที่ของแบบ ฉากหลังจะพรามัว ภาพแบบนี้ควรใชความเร็วชัตเตอรชา ประมาณ 1/15 - 1/16 วินาที

    สิ่งสําคัญที่สุดในการถายภาพแนวนี้ คือ ความคมชัดของภาพ การปรับโฟกัสเนื่องจาก ตัวแบบเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ไมสามารถที่จะปรับโฟกัสไดทัน แมแตกลองชนิดโฟกัสอัตโนมัติ ก็ตาม เพราะฉะนั้นจะตองโฟกัสไวลวงหนา จุดโฟกัสนั้นจะทํ าการโฟกัสที่พื้นถนนที่คาดวาตัว แบบจะผานจุดนั้น ควรถายเผื่อ 2-3 ภาพดวยความไวแสงของฟลมใหใชขนาด ASA 100 , 200 ก็เพียงพอ

    เทคนิคการถายภาพที่กลาวมา เปนเพียงขอแนะนําเบื้องตนที่ควรทราบ การไดมีโอกาส ถายในสถานการณจริง จะพบกับปญหา อุปสรรคตาง ๆ ประสบการณจะสอนใหรูจักแกปญหา ซึ่งเปนเกร็ดเล็กเกร็ดนอย วารสารถายภาพในทองตลาดมีบทความที่เขียนเกี่ยวกับประสบการณ การถายภาพใหไดทราบ

การจัดองคประกอบภาพ

    ในการถายภาพใหไดดีนั้น นักถายภาพนอกจากจะตองมีความรูเกี่ยวกับกลอง ฟลม อุปกรณถายภาพ และใชงานไดอยางคลองแคลวแลว ความเขาใจในเรื่องการจัดองคประกอบ ภาพ (Composition) มีความสํ าคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน การจัดองคประกอบภาพเปนศิลปะ อยางหนึ่ง ที่ตองอาศัยความละเอียดออน รอบคอบ ความเขาใจในศิลปะ นักถายภาพที่มีความรู ทางศิลปะ จะไดเปรียบในการมองภาพ ทั้งนี้ไมไดหมายความวา ผูที่ไมประสีประสาในศิลปะ จะ เปนนักถายภาพที่ดีไมไดเพียงแตตองอดทน ฝกฝน หมั่นหาความรูใหมากขึ้น ภาพตาง ๆ ที่จะถายนั้นมีอยูทั่วไป จะทํ าอยางไรใหภาพนั้นมองดูสวยงาม การจัดองค
ประกอบภาพมีหลักใหญ ๆ อยู 4 ประการ ดังนี้
1. การเนนจุดเดน
2. ความสมดุล
3. ความกลมกลืน
4. ความแตกตาง

การเนนจุดเดน ภาพถายที่สวยงามโดยการเนนจุดเดนนั้น แบงออกเปนหัวขอยอยไดอีก คือ
- เนนโดยใชสี
- เนนโดยใชเสน
- เนนที่รูปราง
- เนนที่ขนาดของวัตถุ
    นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงการเวนชองวาง การใชสัดสวน การวางตําแหนงของจุดเดน ตลอดจนการเนนโดยใชความคมชัด การเนนโดยใชสี เปนการเนนภาพโดยใชสีที่เดน ซึ่งมักเปนสีโทนรอน เชน สีแดง สีแสด จะชวยใหสิ่งที่เราตองการเนนในภาพเดนชัดขึ้น เปนตนวา ดอกกุหลาบสีแดงในกลุมใบไมสีเขียว หญิงสาวใสเจ็คเก็ตสีแสดกลางปาที่มีหมอกจัดนิยมใชสีสดใสเปนจุดเดน ฉากหลังเปนสีออนหรือสีตรงขาม และอาจทํ าใหฉากหลังอยูนอกโฟกัส โดยการเปดรูรับแสงใหใหญมากๆ การเนนโดยเสน ราวสะพาน เสนขอบฟุตบาธ สวนโคงสวนเวาของสัดสวนหญิงสาว ตนมะพราวสูงชะลูด ที่มีทองฟาสีแดงยามตะวันตกดิน เสนเหลานี้ชวยใหภาพสวยเดนขึ้นอยางประหลาด

การเนนที่รูปราง เปนการเนนที่หมายรวมถึงสัดสวนดวย เชน มีสมอยูชะลอมหนึ่ง ทุก
ผลมีลักษณะและสีใกลเคียงกัน แตกลับมีสมผลหนึ่งที่มีลักษณะผิวขรุขระกวาผลอื่น ๆ อยางเห็น
ไดชัด หรือภาพทามกลางเด็ก ๆ ที่เลนโคลน เนื้อตัวหนาตามอมแมมไปหมด แตมีตุกตาสาวนอย
นารักสะอาดสะอานนั่งอยูขาง ๆ

การเนนที่ขนาดของวัตถุ เปนภาพที่มีจุดเดนมีขนาดใหญกวาสวนประกอบอื่น ๆ ภายในภาพ เชน ไขไกหนึ่งตะกรา มีไขนกกระจอกเทศอยูดวยหนึ่งใบ หรือแบบที่มีขนาดเทา ๆ กัน จัดภาพใหเกิดระยะใกลไกล ทํ าใหเกิดความรูสึกวาแบบมีขนาดตางกัน นอกจากนี้ การวางตํ าแหนงของจุดสนใจในภาพ มีสวนสํ าคัญที่ทํ าใหภาพมองดู สวย งาม ในวงการศิลปะไมนิยมวางจุดเดนไวกลางภาพ แตก็สามารถพบเห็นอยูบาง เปนการเนน อยางจงใจ เมื่อลากเสนตรงสองเสนแบงเนื้อที่ของภาพ ออกเปนสามสวนทั้งแนวตั้งและแนว นอนใหมีพื้นที่เทา ๆ กัน จะเกิดจุดตัดกันของเสนขึ้น 4 จุด จุดตัดทั้ง 4 จุดนี้ คือจุดที่ควรวาง ตําแหนงจุดสนใจ (จุดเดน) ของภาพที่ตองการเนน จะใชจุดใดจุดหนึ่งก็ไดใน 4 จุดนี้แลวแตความเหมาะสม เปนไปไดทั้งภาพแนวตั้งหรือแนวนอน เรียกการแบงภาพเชนนี้วา 
“กฎสามสวน”




ความสมดุล (Balance)
    ความสวยงามของภาพถายนั้น นอกจากจะขึ้นอยูกับจุดเดนของภาพแลวยังตองมีองค ประกอบอื่น ๆ ที่จะทํ าใหภาพสวยงามขึ้นอีก หนึ่งในจํ านวนนั้นคือ “ความสมดุล” ความสมดุลมี 2 ลักษณะ ไดแก
1. ความสมดุลที่เทากัน (Formal or Symetry Balance)

2. ความสมดุลที่ไมเทากัน (Informal or Asymetry Balance)

ความสมดุลที่เทากัน 
    เปนความสมดุลของภาพ ที่เกิดจากความเหมือนกันของซีกซาย กับซีกขวา เชน ภาพโบสถ เจดีย ไมวาจะเปนขนาด รูปทรง แมแตนํ้ าหนักของสีภาพลักษณะนี้ใหความรูสึกมั่นคง เครงขรึม และดูสงา

ความสมดุลที่ไมเทากัน 
    เปนความสมดุลที่ดูเสมือนวา มีความเทากันทั้ง 2 ซีก โดยการ จัดวางนํ้าหนักใหเหมาะสม เชน ภาพดวงอาทิตยกลมโตอยูทางซายมือ แลวมีชายแกกับเด็ก กําลังยืนมองไปที่ดวงอาทิตย โดยยืนทางขวามือของภาพ เปนภาพที่ใหความรูสึกวาสมดุลได เหมือนกัน

ความกลมกลืน
    ความประสานกลมกลืนกัน ขององคประกอบตาง ๆ ภายในภาพ จนเกิดความเปนอัน หนึ่งอันเดียวกัน หรือที่เรียกวา “ความเปนเอกภาพ” (Unity) สามารถทําไดโดยการใชรูปทรง เสน และสีเขามาชวย วัตถุที่มีขนาด ลวดลายที่เทากัน หรือใกลเคียงกันเมื่อมารวม ๆ กัน ทําให เกิดความรูสึกกลมกลืน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สีที่อยูในโทน (Tone) เดียวกัน จะมีความกลมกลืนกันอยูในตัว

ความแตกตาง
    ในการจัดองคประกอบภาพที่มีแตความกลมกลืนเพียงอยางเดียว ทําใหรูสึกซํ้าซาก
จําเจ แลวผลที่ตามมาก็คือความนาเบื่อหนาย ดังนั้นเพื่อไมใหเกิดความเบื่อหนาย แกไขโดยการ
ทําใหเกิดความแตกตางขึ้นในภาพ ความแตกตางอาจแบงอยางกวาง ๆ ไดดังนี้
- รูปทรง
- แสง
- เสน
- สี
ในหัวขอนี้จะขอกลาวรวม ๆ ไปเลย รูปทรงและลักษณะที่ไมเหมือนกันสามารถทําใหได ภาพที่แปลกและสวยไปอีกแบบ ความสวางและความมืด แสงและเงาที่ตัดกันมาก ๆ ทําใหภาพ นั้นนาดูยิ่งขึ้นไดเชนกัน รอยยนบนผิวหนาของชายชรา สามารถบงบอกถึงการตอสูของชีวิตได อยางดี เสนตาง ๆ ในภาพบอกความหมายไดตาง ๆ นานา เสนตรงแสดงถึงความเขมแข็ง สงา มั่นคง แข็งแรง เสนตั้งบงบอกถึงความสูง ความมีระเบียบ เสนนอนแสดงถึงความเรียบงาย เชน เสนขอบฟา (เสนที่ขอบทะเลหรือแผนดินจรดกับทองฟา) ไมนิยมจัดไวกลางภาพเพราะจะทําใหรู สึกวา ภาพถูกแบงออกเปน 2 สวน นิยมจัดไว 1/3 ของภาพหรือ 2/3 ก็ไมผิดกติกา และระวัง เสนขอบฟาเอียง ทําใหภาพขาดความสวยงาม เสนโคงแสดงถึงความออนชอย ราเริง สวนเสนทะแยงบอกถึงการเคลื่อนไหว

    จะเห็นไดวา การจัดองคประกอบของภาพ เปนสวนสําคัญที่จะใหไดภาพที่สวยงาม นอกจากการมีกลองที่ดี มีฟลมที่มีคุณภาพ มีอุปกรณมากมาย อยางไรก็ตาม การถายภาพยังขึ้นอยู กับความชํ านาญ ประสบการณของนักถายภาพอีกดวย ประกอบกับการไดพบไดเห็นตัวอยางภาพถายที่ดี ๆ มาก ๆ การยอมรับการวิจารณจากผูมีความรู คําแนะนําที่เปนประโยชน อยางนี้ แลวทานจะเปนคนหนึ่งที่ถายภาพไดดีในอนาคต

อุปกรณถายภาพที่ควรรูจัก

แฟลช (Flash)
    แฟลชเรียกเต็ม ๆ วา “อิเล็กทรอนิกสแฟลช” (Electronic Flash) ในกลองถายภาพ บางรุนจะมีแฟลชติดมากับกลองเลย ถาเปนอยางนี้ก็ไมตองไปหาซื้อมาเพิ่มใหสิ้นเปลืองเงิน สําหรับกลองที่ไมมีแฟลชติดมาดวย ก็จํ าเปนจะตองซื้อหามาใช เพราะในเวลา 24 ชั่วโมง แสง จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในเวลาที่มีแสงนอยก็ใชแฟลชชวยสองสวางแทน ไมใหภาพที่ถายมืด เกินไป นักถายภาพเรียกวา “อันเดอร” (Under) แฟลชที่มีขายในทองตลาดมีตั้งแตขนาดเล็ก ราคา 400-1,000 บาท ไปจนถึงขนาดใหญราคา 2,000-4,000 บาท ขึ้นอยูกับงานและกํ าลังเงิน ของนักถายภาพเอง จะตองพิจารณาเลือกซื้อ ถาใชงานถายภาพเฉพาะภายในครอบครัว เวลา ไปทองเที่ยวอาจใชขนาดเล็กก็คงเพียงพอ แตถาใชถายภาพคนหมูมาก เชน การประชุมสัมมนา การแสดงบนเวที อยางนี้ตองใชแฟลชที่มีขนาดใหญ กําลังสองสวางมากหนอย 
    วิธีการใชแฟลชนั้น ทุกยี่หอมีวิธีการใชเหมือนกันหมด จะเริ่มดวยการตอสายไฟแฟลช เขากับตัวกลอง เพื่อใหแฟลชทํ างานไปพรอมกับการลั่นไกชัตเตอร การตอสายไฟแฟลชนั้นมี 2 วิธี คือ เสียบแฟลชเขากับฐานรองแฟลช (Hot shoe) โดยตรง อีกวิธีเสียบสายแฟลชเขาที่ชองเสียบที่ อยูบนตัวกลอง ซึ่งมีอักษร x กํากับ

ขาตั้งกลอง (Tripod)
    ขาตั้งกลองเปนอุปกรณถายภาพ ที่นักถายภาพควรจะหาซื้อมาใช โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูที่ชอบถายภาพในยามคํ่าคืน ขาตั้งกลองมีไวสําหรับยึดกลองใหนิ่งมั่นคง โดยเฉพาะการถาย ภาพในที่มีแสงสวางนอย เนื่องจากตองใชความเร็วชัตเตอรชา ๆ เพื่อใหรับแสงไดนาน ๆ โดยกลอง ไมสั่นไหว เชน ไฟตามทองถนนยามคํ่าคืน ตองตั้งความเร็วชัตเตอรใหชากวา 1/30 วินาที รวม ทั้งการถายภาพตนเองโดยใชเครื่องหนวงลั่นไกบนกลองถายภาพ โดยทั่วไปขาตั้งกลอง มีลักษณะเปนขาสามขายึดติดกัน สามารถพับเก็บหรือกางออก ไดยืดขึ้นไดสูงถึงระดับสายตา เมื่อติดตั้งกลองบนขาตั้งกลองแลวสามารถ
สายกลองไปซายขวา หรือการแพนนิ่ง (Panning) ปรับมุมกลองใหกมเงย (Tilt) ไดตามตองการ มีนํ้าหนักเบา เมื่อ พับเก็บสามารถพกพาไปไดสะดวก

สายลั่นไก (Cable Release)
    สายลั่นไกเปนอุปกรณที่ใชควบคูกับขาตั้งกลอง โดยการหมุนเกลียวตอเขากับปุม ชัตเตอรที่ตัวกลอง เมื่อกดไกชัตเตอรผานสายลั่นไก จะมีความนิ่มนวลกลองจะไมสั่นไหว นอก จากนี้ยังสามารถลอคไกชัตเตอรใหคางไวไดเมื่อใชกับความเร็วชัตเตอรที่ B นักถายภาพตองการ ถายภาพที่ใชเวลานานกวา 1 วินาที พิธีเวียนเทียนรอบโบสถวันวิสาขบูชา เปนตัวอยางหนึ่งที่นัก ถายภาพจะตองใชความเร็วชัตเตอรที่ชา 10 - 45 วินาที

ชุดอุปกรณทําความสะอาดกลองถายภาพ (Cleaning Accessories)
    เมื่อนํากลองถายภาพออกใชงาน ก็ตองพบกับฝุนละออง ความสกปรก ความเปยกชื้น จึงควรมีชุดทําความสะอาดกลองสักชุด สามารถหาซื้อไดตามรานถายภาพทั่วไป ประเภทแยก ชิ้นขายก็มี ซึ่งชุดทําความสะอาดกลองประกอบดวยหนังชามัวรหรือกระดาษเช็ดเลนส แปรงปดฝุน นํ้ายาเช็ดเลนส สําลีพันปลายไม (Cotton Bud) และโบลเวอร (Blower) สําหรับเปาลม (กระเปาะยางบีบลม) ปจจุบันมีเปนสเปรยกระปองจําหนาย

กรวยบังแสง (Lens hood)
    กรวยบังแสง เปนอุปกรณที่ใชปองกันแสงที่ไมพึงประสงค สองมาจากดานขางสะทอน เขาไปในเลนส มีลักษณะเปนรูปกรวย อาจทํ าจากยางหรือโลหะก็ได สวนใหญเปนเกลียวหมุน เขาไปที่หนาเลนส หรือสวมตอจากฟลเตอรก็ได

ฟลเตอร (Filter)
    ฟลเตอร หรือเรียกอีกอยางวา “แผนกรองแสง” มีหนาที่ในการปรับแสง กรองแสง เพื่อใหไดภาพที่สวยงาม ถูกตอง หรือใหไดภาพพิเศษแปลกออกไปกวาปกติ มีลักษณะเปนแวน กลมตรงขอบเปนเกลียว หรือเปนแผนสี่เหลี่ยมบาง ซึ่งตองใชคูกับที่จับขอบ (Holder) ฟลเตอร มักทําจากแกวหรือเจลาติน เราพอที่จะจําแนกหนาที่ของฟลเตอรไดดังนี้
1. กรองแสง ตัดรังสีเมฆหมอก ตัดแสงสะทอน ลดแสง
2. แกสี
3. เพิ่มสีสัน
4. ใหผลของภาพพิเศษ
ในที่นี้จะขอกลาวรวม ๆ กันไป ฟลเตอรที่นักถายภาพรูจักเปนชิ้นแรก ไดแก ฟลเตอร สกายไลท (Skylight) โดยซื้อมาพรอมกับซื้อกลอง ครอบอยูหนาเลนสมีสีชมพูออน เพื่อเปนการ ปองกันฝุนละออง การขีดขวนที่จะเกิดกับเลนสใหภาพสีสดขึ้น ตัดหมอกไดเล็กนอย ฟลเตอรชิ้น ตอไปที่ควรจะหามาอาจจะเปนชนิดเพิ่มสีสัน เชน สีแดง ใชถายตอนตะวันตกดิน สีฟาเขมไวถายทิวทัศน หรือฟลเตอรที่ใหผลของภาพพิเศษ เชน ซันนี่ครอส (Sunny Cross) ทํ าให ภาพบริเวณที่มีแสงเปนแฉกมัลติอิมเมจ (Multiimage) ภาพซอนกัน 2 - 5 ภาพ แลวแตแบบของ ฟลเตอรซอฟตัน (Softon) สํ าหรับทําใหภาพนุมคลายอยูในความฝน

เลนสโคลสอัพ
    มีลักษณะคลายฟลเตอร ใชสวมหนาเลนสเพื่อขยายวัตถุเล็ก ๆ เชน ภาพดอกไม ภาพ แมลง ราคาอันละรอยกวาบาท มีเบอร +1, +2, +3, +10 เบอรสูงมีกํ าลังขยายมาก ขอเสียของ เลนสโคลสอัพ จะสูญเสียความคมของภาพไปสวนหนึ่งโดยเฉพาะบริเวณขอบภาพ ดังนั้น นักถายภาพที่นิยมถายวัตถุสิ่งของเล็ก ๆ เชน แมลง ดอกไม หยดนํ้ า ฯลฯ ขอแนะนํ าใหใชเลนสแมโครจะใหคุณภาพของภาพดีกวา และยังสามารถนํามาถายภาพบุคคลไดดวย
    
    อุปกรณที่กลาวมาขางตน เปนเพียงอุปกรณขั้นตนที่นักถายภาพควรรูจัก นอกจากนี้ยัง มีอุปกรณอื่นอีกมาก ที่มีจําหนายในทองตลาด เพื่อใหนักถายภาพเกิดความสะดวกและเพื่อผล ภาพพิเศษตาง ๆ สามารถศึกษาไดจากหนังสือกลองถายภาพ นิตยสารและรานถายภาพโดยทั่วไป