วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

สวนประกอบและระบบการทํางานของกลองถายภาพ

ตัวกลอง (Camera Body)
    ตัวกลอง นักถายภาพมักเรียกทับศัพทวา “บอดี้” (Body) ตัวกลองเปนเสมือนหองมืด
ขนาดเล็ก คอยปองกันแสงสวางที่ไมตองการเขากลอง มักทํ าดวยโลหะหรือพลาสติกแข็ง
ลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มีความหนาประมาณนิ้วครึ่งเพื่อใหจับกระชับมือเวลาถาย ภายใน
มีที่วางพอที่จะบรรจุฟลมได ฉาบดวยสีดํ าทั้งหมดและเปนสี่ดาน เพื่อปองกันการสะทอนแสงภาย
ในตัวกลอง ตัวกลองยังมีกลไกตาง ๆ ที่ชวยในการถายภาพตั้งอยู เชน ชัตเตอร ปุมกรอฟลม
กลับ ที่ตั้งความไวแสงของฟลม วงแหวนปรับโฟกัส ฯลฯ




เลนส (Lens)
    เลนสเปนอุปกรณที่ทํ าจากแกวใสที่มีคุณภาพสูง เปนสวนที่มีราคาแพงที่สุดในกลอง
ถายภาพ กลองที่มีราคาถูกเลนสอาจทํ าดวยพลาสติก ลักษณะเปนเลนสอันเดียว ในกลองที่มี
ราคาแพงจะเปนกลุมเลนสหลายอันมาเรียงตอกัน ภายในกระบอกเลนส มีประมาณ 5 - 7 อัน มี
ทั้งเลนสนูนและเลนสเวา เลนสทํ าหนาที่หักเหแสง ที่สะทอนจากวัตถุผานเลนสเขาไปภายในกลอง
ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับตกกระทบบนฟลม ภาพที่ไดมีคุณภาพดีหรือไม เลนสเปนสวนสําคัญที่
สุดนอกจากนี้เลนสถูกออกแบบมา ใหสามารถแกสีที่เพี้ยนและแกความคลาดเคลื่อนของ
รูปทรงใหถูกตองตามความเปนจริงอีกดวย ผิวเลนสจะเคลือบดวยสารเคมีปองกันแสงสะทอน ดัง
นั้น ควรเช็ดเลนสอยางนุมนวล ดวยหนังชามัวร หรือกระดาษเช็ดเลนสที่ผลิตมาเพื่อการนี้โดย
เฉพาะเทานั้น เลนสที่ใชกับกลองแตละแบบ มีขนาดแตกตางกันออกไป โดยจัดแบงตามความยาว
โฟกัส (Focus) ของเลนส หรือเปลี่ยนเลนสไดหลายขนาด ในกลองบางรุน ซึ่งจะไดกลาวในเรื่อง
ของเลนสโดยเฉพาะตอไป





ไดอะแฟรม (Diaphragm)
     ภายในกระบอกเลนสจะมีแผนโลหะบางสีดํ า ลักษณะเปนกลีบเรียงซอนกัน เมื่อปรับ
วงแหวนปรับรูรับแสง กลีบโลหะจะขยับทํ าใหรูรับแสงมีขนาดเล็ก หรือเปดกวางไดตามตองการ
ดังนั้น รูรับแสงจึงทํ าหนาที่กํ าหนดปริมาณของแสงที่เขากลอง รูรับแสงเล็กแสงจะเขาไดนอย รูรับ
แสงที่กวางแสงก็เขาไดมาก รูรับแสงขนาดตาง ๆ จะถูกกํ ากับดวยตัวเลขเพื่อใหทราบขนาดของรู
รับแสง ดานนอกของกระบอกเลนส จะเปนวงแหวนใหหมุนไปมาได จึงเรียกอีกอยางวา
“วงแหวนปรับรูรับแสง” (Aperture Ring)






ชัตเตอร (Shutter)
     ชัตเตอรมีลักษณะเปนมานที่ทํ าดวยผาหรือแผนโลหะบางสีดํา ตั้งอยูระหวางเลนสกับ
ฟลม มีกลไกบังคับใหชัตเตอรเปดปดได เรียกวา “ไกชัดเตอร” และสามารถกําหนดเวลาการเปด
ปดชัตเตอรไดนานเทาที่ตองการ โดยการปรับที่ปุมความเร็วชัตเตอร ซึ่งอยูตําแหนงติดกับไกชัต
เตอร สังเกตไดโดยมีเลขกํากับไดแก B 1 2 4 8 15 30 60 125 250 500 เรียงตาม
ลําดับเลขเหลานี้เปนเลขสวนของเศษหนึ่ง มีหนวยเปนวินาที เมื่อปรับปุมความเร็วชัตเตอรไปที่เลข 1 หมายความวา เมื่อเรากดไกชัดเตอร ชัตเตอร ชัตเตอรจะเปดใหแสงผานเขาไปกระทบกับฟลม เปนเวลา 1/1 วินาที ซึ่งก็คือชัตเตอรเปดอยูนาน 1 วินาที ถาปรับไปที่เลข 2 ชัตเตอรจะเปดนาน 1/2 วินาที (ครึ่งวินาที) ถาเปนเลข 125 ชัตเตอร จะเปดโดยใชเวลานอยลง คือ 1/125 วินาที (เศษหนึ่งสวนหนึ่งรอยยี่สิบหาวินาที) ซึ่งเร็วมากจน ตามองแทบไมเห็น นอกจากชุดตัวเลขความเร็วชัตเตอรแลว บนปุมปรับความเร็วชัตเตอรนี้ยังมีตัวอักษร “B” รวมอยูดวย ยอมาจากคําวา Brief Time แปลวา ชวงเวลาสั้น ๆ ใชกับการถายภาพที่ตองการ ความเร็วชัตเตอรนานกวา 1 วินาที โดยเมื่อตั้งความเร็วชัตเตอรที่ B เมื่อกดไกชัตเตอรจะเปดคางไว จนกวาจะปลอยนิ้วที่กดไกชัตเตอร ชัตเตอรจึงจะปด มีไวสํ าหรับใชถายภาพในที่ที่มีแสงนอย มาก ๆ เชน ไฟตามทองถนน แสงไฟในงานเทศกาลตาง ๆ ในเวลาคํ่ าคืน เราสามารถ
ถายตั้งแตหลาย ๆ วินาที จนถึงหลาย ๆ ชั่วโมง ทั้งนี้ผูถายตองจับเวลาเอาเองและจัดใหกลองนิ่ง
ที่สุด จึงนิยมใชคูกับขาตั้งกลอง (Tripod)



วงแหวนปรับโฟกัส (Focusing Ring)
     มักจะอยูขอบกระบอกเลนสของกลอง สามารถปรับไดโดยการหมุนเลื่อนไปทางซาย
หรือขวา มีตัวเลขเขียนบนวงแหวนสองชุดเรียงเปนแถว มีตัวอักษรกํากับคือ M และ Ft โดยที่
M เปนหนวยของระยะทางเปนเมตร และ Ft มีหนวยเปนฟุต ในกลองถายภาพที่มีราคาถูก อาจ
จะใชรูปภาพแทนตัวเลขก็ได้เมื่อเราปรับโฟกัสเลนสจะยึดออก และเมื่อหมุนไปทางตรงขามเลนสก็จะหดเขา เพื่อใหไดภาพที่ชัดตามที่ตองการ ในการปรับโฟกัส (ปรับความคมชัด)




สวนประกอบอื่น ๆ
ชองมองภาพ (Viewfinder)
    ใชสําหรับมองดูวัตถุที่จะถาย เพื่อจัดองคประกอบของภาพ และใชเปนจอรับภาพ เพื่อ
ที่นักถายภาพจะไดเห็นลักษณะ และขอบเขตของภาพที่จะบันทึกบนฟลม รวมทั้งความคมชัด
นอกจากนี้ภายในกลองบางตัว ยังมีเครื่องวัดแสงซึ่งอาจเปนเข็มหรือสัญญาณไฟ เพื่อบอกใหรูวา
แสงขณะนั้นเปนเชนไร จะไดปรับกลองใหไดนอรมอล (Normal) ในกลองบางตัวยังอํานวย
ความสะดวกเพิ่มขึ้นอีก โดยการเพิ่มตัวเลขบอกขนาดหนากลองและความเร็วชัดเตอร จะไดไม
ตองละสายตามามองดานนอกกลอง ทํ าใหเสียเวลา

ที่ตั้งความไวแสงของฟลม (Film Speed Dial)
    เนื่องจากฟลมในทองตลาด มีความไวแสงหลายระดับใหเลือกใช เพื่อใหเหมาะกับงาน
แตละอยาง สภาพแสงแตละแบบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองบอกกับกลอง วาขณะนี้ใชฟลมอะไร
อยูเพื่อที่เครื่องวัดแสงในกลอง จะไดวัดแสงไดอยางถูกตอง ในกลองบางรุนมีระบบอานรหัสดี
เอ็กซ (DX Code) ซึ่งสามารถตรวจไดเอง วามีฟลมชนิดใดอยูในกลองก็นับวาสะดวกดี โดยทั่วไปตําแหนงที่ปรับตั้งความไวแสง จะอยูรวมกับปุมที่ตั้งความเร็วชัดเตอรหรือที่ กรอฟลมกลับที่ใดที่หนึ่ง สังเกตไดโดยที่จะมีตัวอักษร ASA หรือ ISO กํากับ ซึ่งคือหนวยความ ไวแสงของฟลมนั่นเอง

ปุมลั่นไกชัตเตอร (Shutter Release Button)
    ปุมนี้มักอยูสวนบนของกลองดานขวามือ ตรงตําแหนงที่สามารถวางนิ้วชี้ไดพอดี เพื่อ
สะดวกในการกดไกชัตเตอร เมื่อจะถายก็เพียงแตกดลงเบา ๆ ในกลองบางรุน การกดลงไปเล็ก
นอย เปนการเปดเครื่องวัดแสงของกลองดวย

คานเลื่อนฟลม (Film Advance Lever)
    สวนใหญเปนคานสามารถงางหมุนได โดยใชนิ้วหัวแมโปงงางหมุนไป ทําหนาที่เลื่อน
ฟลมที่ถายแลวใหเคลื่อนที่ไป โดยใหฟลมที่ยังไมไดถายเคลื่อนเขามาแทนที่ เพื่อรอการถายภาพ
ตอไป การขึ้นฟลมจะรวมถึงการขึ้นชัตเตอรดวยพรอมกันไป แตถาเปนกลองสะทอนภาพเลนสคู
ที่ขึ้นฟลมกับที่ขึ้นชัตเตอรจะแยกจากกัน ผูถายจะตองขึ้นไกชัตเตอรทุกครั้ง หลังจากขึ้นฟลมแลว

ตัวเลขบอกจํ านวนภาพ (Film Counter Number)
    บนตัวกลองจะมีที่บอกจํ านวนฟลม เพื่อใหผูถายไดทราบวา ถายภาพไปแลวเทาไร
และยังคงเหลืออีกกี่ภาพที่ยังไมไดถาย

ฐานเสียบแฟลช (Hot Shoe)
    เปนชองสํ าหรับเสียบฐานแฟลชเขากับตัวกลอง เพื่อใหแฟลชติดกับตัวกลองตั้งอยูสวน
บนของกลอง ที่ฐานแฟลชนี้จะมีหนาสัมผัสโลหะใหแฟลชสัมผัสได เพื่อที่วาขณะที่ถายชัดเตอรจะ
ลั่นไกพรอมกับการสวางของแฟลช ดังนั้นจึงไมตองมีสายแฟลชเชื่อมตออีก

ชองเสียบสายแฟลช (Flash Socket)
    ในกรณีกลองบางตัวไมมีฐานเสียบแฟลช หรือตองการถายโดยแยกแฟลชออกจาก
กลอง จะตองใชสายแฟลชตอเชื่อม โดยเสียบเขาที่ชองเสียบ ซึ่งมีตัวอักษร X กํากับ

ที่ถายเองอัตโนมัติ (Self Timer Lever)
    การไปถายภาพภายนอกสถานที่ตามลําพัง หรือตองการถายคนทั้งกลุมรวมทั้งคนถาย
ดวย ในที่นั้นอาจจะหาใครชวยถายไมได ที่ถายเองอัตโนมัติจะชวยไดโดยการหมุนปุมนี้แลวจัด
ภาพใหสวยงาม อยาลืมกันที่สํ าหรับคนถายดวย จากนั้นกดไกชัตเตอรกอนที่ชัตเตอรจะลั่นไก มี
เวลาประมาณ 10 - 15 วินาที ที่คนถายจะวิ่งไปยืนในตําแหนงที่เตรียมไว

ที่กรอฟลมกลับ (Film Rewind Button)
    ตํำแหนงที่จะกลาวถึงสุดทาย ในเรื่องสวนประกอบของกลองถายภาพไดแกที่กรอฟลม
กลับ เมื่อถายภาพจนฟลมหมดมวน จําเปนที่จะตองกรอฟลมกลับเขากลักฟลมเพื่อนําไปลาง
ตอไป ในการกรอฟลม จะตองปลดลอคกันฟลมหมุนกลับเสียกอน โดยการกดปุมใตฐานกลอง
จากนั้นก็จะสามารถกรอฟลมกลับโดยงาย กรอจนแนใจวา ฟลมกลับเขากลักหมดแลว จึงเปดฝา
หลังกลอง นํ าฟลมออกจากกลองเพื่อนําไปลางตอไป

    สวนประกอบของกลองที่กลาวมา เปนสิ่งที่กลองโดยทั่วไปมี แตก็ยังมีบางกลอง ที่มี
สวนประกอบเพิ่มเติมมากกวานี้ เพื่ออํานวยความสะดวกในการถายและราคาก็สูงตามไปดวย
โดยเฉพาะกลองรุนใหม ๆ ที่มีระบบไมโครคอมพิวเตอรบรรจุอยูภายใน อยางไรก็ตามนักถายภาพ
ก็สามารถทราบกลไกที่เพิ่มมานั้นไดจากคูมือ (Manual) ที่แนบมาใหพรอมกลอง ดังนั้น จึงไม
ควรละเลยหรือทิ้งไปโดยไมไดอานอยางเด็ดขาด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น