วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เลนสถายภาพ

เลนส (Lens) 
    เปนสวนประกอบที่สําคัญที่สุดของกลองถายภาพ เปนวัสดุที่ทํามาจาก แกวหรือพลาสติกใสคุณภาพสูง จัดรวมกันเปนกลุมหรือมีเพียงชิ้นเดียวก็ได อยูภายในกระบอก เลนส เลนสทําหนาที่หักเหแสงที่สะทอนจากวัตถุพุงเขามาภายในกระบอกเลนส เพื่อใหไดภาพที่ คมชัดที่สุด ดังนั้นในขณะใชกลอง ตองระวังไมใหเลนสมีริ้วรอยขีดขวนหรือสกปรกได

ลัษณะของเลนสถายภาพ
    เลนสถายภาพ จะประกอบดวยแกวเลนสเพียงชิ้นเดียว หรือหลายชิ้นในกระบอกเดียว กันก็ได และภายในกระบอกเดียวกันจะมีการจัดวางตํ าแหนงของชิ้นเลนสออกเปนกลุม ๆ แตก ตางกันออกไป ตามแตผูผลิตนั้น ๆ นํ าออกมาจํ าหนายทองตลาด นักถายภาพไดแบงเลนสออกเปนกลุม โดยการกําหนดความยาวโฟกัสของเลนส ความยาวโฟกัสของเลนส (Lens Focal Length) หมายถึง ระยะทางจากศูนยกลางโฟกัสของเลนส (Optical Center of Lens) ถึงระนาบโฟกัสของภาพหรือฟลม เมื่อเลนสตั้งระยะความชัด ไวที่อินฟนิตี (Infinity = ∝) ความยาวโฟกัสมีหนวยเปนมิลลิเมตร ยกตัวอยาง เชน มีเลนสตัว
หนึ่งความยาวโฟกัส 105 ม.ม. นํ าเลนสตัวนี้ไปโฟกัสวัตถุที่อินฟนิตี ระยะจากจุดศูนยกลางของ เลนสถึงระนาบฟลมจะเทากับ 105 ม.ม. เปนตน

ความไวแสงของเลนส (Lens Speed)
    ความไวแสงของเลนส หมายถึงความสามารถของเลนสที่ยอมใหแสงผานเขาไป เมื่อ เปดรูรับแสงกวางที่สุด ซึ่งทราบไดจากตัวเลข ที่แสดงไวที่วงแหวนหนาเลนส

ประเภทของเลนสถายภาพ
    เลนสแบงออกเปนชนิดตาง ๆ ไดตามความยาวโฟกัส ดังนี้
    1. เลนสมุมกวางพิเศษ
    2. เลนสมุมกวาง
    3. เลนสมาตรฐาน
    4. เลนสถายไกล
    5. เลนสแมคโคร
    6. เลนสซูม

เลนสมุมกวางพิเศษ (Fish Eye Lens)
    เปนเลนสที่มีความยาวโฟกัสระหวาง 6-16 ม.ม. มุมรับภาพกวาง 180-220 องศา บาง ทีเรียกวา
เลนสตาปลา เพราะมีลักษณะคลายตาปลา ภาพที่ไดจากการถายดวยเลนสนี้ จะได ภาพที่เปนแนวโคงยิ่งความยาวโฟกัสสั้น ยิ่งโคงจนเปนวงกลมและมีสัดสวนที่ผิดไปจากความจริง มาก นิยมใชถายภาพ
สถาปตย

เลนสมุมกวาง (Wide Angle Lens)
    มีความยาวโฟกัส 24-40 ม.ม. มุมรับภาพ 62-82 องศา เหมาะที่จะใชถายภาพใน สถานที่แคบ ๆ หรือเมื่อตองการภาพมุมกวาง เพื่อเก็บรายละเอียดของพื้นที่ใหไดมาก ๆ ภาพที่ได จากการถายดวยเลนสนี้ จะมีความชัดลึกมาก แตก็มีขอเสียตรงที่จะใหสัดสวนที่ผิดจากความเปน จริง จึงควรงดเวนการนําเลนสที่ตํ่ากวา F = 35 ม.ม. ไปถายภาพบุคคล มิฉะนั้นใบหนา รูปราง จะบิดเบี้ยว ขาดความสวยงาม

เลนสมาตรฐาน (Normal Lens)
    เปนเลนสตัวแรกที่นักถายภาพรูจัก เพราะเปนเลนสที่ติดมากับกลอง โดยเฉพาะกลองชนิดถอด เปลี่ยนเลนสไมได อยางกลองวิวไฟนเดอร เลนสมาตรฐานเปนเลนสที่มีมุมรับภาพ ใกลเคียงกับ ดวงตาของมนุษยมากที่สุด เหมาะที่จะใชถายภาพทั่วไป มีความยาวโฟกัสเทากับ F = 50 ม.ม. ในกลองสะทอนภาพเลนสเดี่ยว สวนกลองวิวไฟนเดอรจะเปน F = 40 ม.ม.เลนสมาตรฐานนี้ใชงานไดกวางมาก ไมวาจะเปนการถายภาพทิวทัศน ถายภาพบุคคลภาพชีวิตความเปนอยูของผูคน ภาพกิจกรรมในครอบครัว ฯลฯ ความไวแสงของเลนส มีมาก ทําใหสามารถถายภาพในที่มีแสงนอยไดดี ใหภาพที่มีความคมชัดสูง

เลนสถายไกล (Telephoto Lens)
    เปนเลนสที่ใชถายวัตถุที่อยูไกลออกไป เหมาะกับการถายภาพกีฬา ภาพสัตวปาและ ภาพบุคคล มีความยาวโฟกัสตั้งแต F = 70 ม.ม. ขึ้นไป มีมุมรับภาพแคบและความชัดลึกนอย จึงเหมาะที่จะใชถายภาพที่มีฉากหลังรุงรัง หรือบริเวณรอบขางมีสิ่งรบกวนสายตา เลนสถายไกล ใหภาพที่มีสัดสวนถูกตองตามความเปนจริง จึงนิยมใชถายภาพบุคคล เลนสถายไกลขนาด 105 ม.ม. ,135 ม.ม. จะเหมาะที่สุด สวนภาพกีฬาอาจตองใชขนาด F = 500 ม.ม. หรือมากกวา

เลนสแมโคร (Macro Lens)
    เลนสแมโครเปนเลนสพิเศษ ที่สรางมาสํ าหรับถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็กเพื่อใหไดภาพ โตเต็มกรอบฟลม เชน ภาพดอกไม ภาพแมลง ภาพสิ่งของเล็ก ๆ เชนเดียวกับเลนสโคลสอัพ แตใหคุณภาพของภาพดีกวามาก เลนสแมโครออกแบบมาใหถายในระยะใกล 2-3 นิ้วได และยัง ถายเปนเลนสปกติไดอีกดวย เลนสแมโครที่พบมากเปนขนาด F = 50 ม.ม. และ F = 105 ม.ม.

เลนสซูม (Zoom Lens)
    เลนสซูม เปนกลุมเลนสชุดหนึ่ง ที่สามารถปรับเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนสได โดยการเลื่อนหรือหมุนกระบอกเลนส มีผลทํ าใหชุดเลนสภายในกระบอกเลนสเปลี่ยนตําแหนง ทําใหกํ าลังขยายของเลนสเปลี่ยนไป นั่นคือ เปนการรวมความยาวโฟกัสหลาย ๆ ความยาวโฟกัส มารวมในเลนสตัวเดียวกัน 
ทําใหเกิดความสะดวกในการถายภาพ ที่ไมตองเปลี่ยนเลนสบอย ๆ หรือไมตองขยับตัวผูถายใหเข ใกลหรือถอยหางสิ่งที่ตองการถายภาพ แตจะปรับที่เลนสซูมแทน เลนสซูมจะเขียนความยาวโฟกัส เปนชวง เชน F = 35-105 ม.ม. F = 70-210 ม.ม. เปนตน แมเลนสซูมจะใหความสะดวกที่ไมตองแบกเลนสหลายตัวเมื่อตองเดินทางไกล แตก็มีขอ จํากัด เชน รูรับแสงคอนขางเล็กประมาณ F 3.5 หรือ F4 เนื่องจากมีเลนสหลายอันภายใน กระบอกเลนส ทําใหความไวแสงของเลนสนอยลงนั่นเอง

การระวังรักษาและทําความสะอาดเลนส
    ปจจุบันนี้ เลนสสวนใหญจะฉาบดวยสารพิเศษกันการสะทอนแสง บนผิวของเลนสชั้น
นอกสุด สารเคลือบผิวเลนสนี้มีความคงทนตอการเช็ดถู หากทํ าความสะอาดเลนสอยางถูกวิธี
และดูแลรักษาอยางถูกตอง นักถายภาพจะตองระวังรักษาไมใหเลนสถูกฝุนผง หากพบวามีฝุนผงเกาะเปอนบริเวณผิวเลนส จะตองเปาฝุนผงเหลานั้น ออกดวยกระเปาะเปาลมหรือสเปรยลม (AirFlow) แลวจึงเช็ดดวยกระดาษเช็ดเลนสอีกครั้ง หามใชปากเปาเปนอันขาด เพราะลมปากมีไอนํ้า จะทําใหเลนสเปยกชื้นและขึ้นราไดงาย ควรเปาลมอยางระมัดระวัง ใชลมเบา ๆ เพราะการใชลม เปาที่แรง จะทํ าใหฝุนผงเสียดสีกับผิวเลนส เกิดประจุไฟฟาสถิตยและทํ าใหฝุนผงเกาะเลนสแนน ยิ่งขึ้น

การทําความสะอาดเลนสอีกวิธี โดยการใชนํ้ายาทําความสะอาดเลนส 1-2 หยด หยด ตรงกึ่งกลางเลนส จากนั้นใชกระดาษเช็ดเลนส หรือหนังชามัวร (Photo Chamois) ถูผิวเลนส อยางนิ่มนวล โดยถูเปนกนหอยจากกึ่งกลางเลนสไปยังขอบเลนส เพื่อใหนํ้ ายาเช็ดเลนสกระจาย ทั่วผิวเลนส นํ้ ายาที่ใชเช็ดแวนตาหรือนํ้ ายาจํ าพวกที่มีซิลิโคน (Silicone) หรือมีสารกันหมอก (Antifogging) เปนสวนผสม หามนํ ามาใชเช็ดเลนสอยางเด็ดขาด เพราะสวนผสมเหลานี้จะไป ทําลายสารเคลือบผิวเลนส ทํ าใหภาพพรามัวขาดความคมชัดได หลังจากเช็ดเลนสดวยนํ้ายาเช็ด เลนสแลว เช็ดซํ้ าอีกครั้งดวยกระดาษเช็ดเลนสที่แหง เพื่อใหเลนสแหงสนิท ขั้นสุดทายเปาลม ดวยกระเปาะเปาลม เพื่อขจัดขุยกระดาษเช็ดเลนสที่คางอยูบนผิวเลนส หากวิธีการดังกลาวยังใช ไมไดผล ขอแนะนํ าใหสงรานซอมกลองโดยเฉพาะจัดการใหจะดีกวา โดยเฉพาะหากตองทํ าความ สะอาดดานในของเลนส (Cohen. 1984 : 90-91) นักถายภาพควรใชกลองดวยความระมัดระวัง ไมใหไปกระทบกับของแข็งหรือตกหลน โดยเฉพาะอยางยิ่งหากเลนสตกพื้นจากที่สูง จะตองไดรับการตรวจเช็คดานการรับแสงที่คลาด เคลื่อน และกลไกการทำงานอื่น ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง กลไกควบคุมการเปดปดรูรับแสง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น