วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

ฟลม

    ฟลมถายภาพเปนวัสดุไวแสง มีหนาที่รับแสงที่ผานเลนสเขามาในกลองถายภาพ โดย แสงเขามาตกกระทบฟลมแลว สารเคมีจําพวกซิลเวอรแฮไลด ที่เคลือบฉาบบนผิวฟลม จะทำปฏิกริยาเคมีเกิดเปนภาพแฝงขึ้น และเมื่อนํ าไปผานขั้นตอนการลางฟลม จะไดเห็นภาพปรากฏขึ้น บนฟลม และนําไปอัดขยายหรือเพื่อการอื่นตอไป

โครงสรางของฟลม

    ฟลมทํามาจากแผนอะซิเตทใส (Acetate) ฉาบดวยสารเคมีไวแสง(Emulsion) จําพวก ซิลเวอรแฮไลด เชน ซิลเวอรโบรไมด (Silver bromide) สังเกตไววา ฟลมดานหนึ่งจะมีความมัน มากกวาอีกดาน โดยที่ดานมันคือฐานรองรับหรือฐานฟลม (Base) และอีกดานจะถูกฉาบดวยนํ้ายาไวแสง ซึ่งผิวจะมีความมันนอยกวา และเปนดานที่จะรับการฉายแสงในขณะกดชัตเตอร ในทางเทคนิค มีความละเอียดออนในการผลิตฟลมอยางมาก โดยการเตรียมสารและ ฉาบสารไวแสงเปนชั้น ๆ พอสรุปไดดังนี้

1. Protective Overcoating เปนชั้นที่ทําหนาที่ปองกัน ไมใหเกิดการถลอก หรือรอย ขีดขวนตาง ๆ ขึ้นบนผิวหนาของฟลม ในขณะที่ทําการถายหรือลางฟลม (a และ f)

2. Emulsion (b) เปนชั้นของตัวยาไวแสง ซึ่งผลิตจากการผสมเงินไนเตรท โปรตัสเชียมโบรไมด และสารอื่น ๆ กับเจละติน (Gelatin) ปริมาณของสารแตละตัว และเทคนิคการผลิต เปนความลับของแตละบริษัท
3. Adhesive Subcoating (c) ทํ าหนาที่เชื่อมให Emulsion ติดแนนบนฐานฟลม
4. Antihalation Backing (e) สารตัวนี้ฉาบดานหลังของฟลม ทํ าหนาที่ปองกันมิให แสงที่เขามากระทบฟลมเกิดการสะทอนกลับ ซึ่งมีผลทํ าใหภาพสูญเสียความคมชัด
5. Base (d) ชั้นแผนอะซิเตทใส นอกจากนี้อาจจะมีการฉาบสารเคมีอื่น ๆ อีกได อันเปนเทคนิคการผลิตของแตละบริษัท

การแบงประเภทของฟลม
ฟลมสามารถแบงประเภท โดยใชหลักเกณฑดังตอไปนี้
1. แบงตามลักษณะภาพที่ไดจากการบันทึก
2. แบงตามขนาดของฟลม
ฟิลมแบงออกเปนกลุมตามการใชงานทั่วไป ได 2 กลุมดวยกัน คือ
1. ฟลมเนกาทิฟ (Negative Film)
2. ฟลมรีเวอรแซล (Reversal Film)


ฟลมเนกาทิฟ
    เปนฟลมที่ใหสีตรงกันขามกับสีของสิ่งที่ถาย เมื่อดูที่ฟลมหลังการลางเสร็จแลว เชน คนผมดําบนฟลมจะไดผมสีขาว ใบไมสีเขียวในฟลมจะเปนสีแดง ถาเปนฟลมขาวดํา สีขาว ของเสื้อจะดําจัด สวนสีอื่น ๆ เชน สีเขียว สีแดงสีจะออกโทนสีเทา สีที่เขมมากบนฟลมจะออกสี เทาออน ในทางตรงกันขาม วัตถุสีออนบนฟลมจะออกสีเทาเขม เมื่อตองการใหไดภาพที่มีสีตรงตามความเปนจริงตองนําไปอัดขยายลงบนกระดาษ อัดภาพ ซึ่งสามารถเลือกขนาดภาพที่จะอัดขยายไดตามตองการ เชน ฟลม Konica XG100, Kodacolor Gold 400, Fujicolor Super G 200 เปนตน 
ประโยชนของฟลมเนกาทิฟ ใชในการถายภาพทั่ว ๆ ไป และในงานพิธีตาง ๆ เชน งานมงคลสมรส งานบวช งานพระราชทานปริญญาบัตร การทองเที่ยว เปนตน

ฟลมรีเวอรแซล
เรียกอีกอยางวา ฟลมสไลด (Slide Film) เปนฟลมที่ใหสีตรงตามความเปนจริง ซึ่ง ตางจากฟลมเนกาทิฟ หมายความวาสิ่งที่ถายมีสีอยางไร ภาพที่ปรากฏบนฟลมก็จะไดสีนั้นไมผิดเพี้ยน เมื่อลางฟลมเสร็จแลวมักใสในกรอบ ขนาด 2” x 2” อาจจะทําดวยกระดาษหรือพลาสติก เพื่อใหงายตอการใชงานและการเก็บรักษา หนึ่งกรอบ (หนึ่งภาพ) เรียกวา “หนึ่งเฟรม” (Frame) เชน Kodak Ektachrome Select 100 X, Fujichrome Provia 100 เปนตน
ประโยชนของฟลมฟลมรีเวอรแซล ใชในการทําชุดสไลด เพื่อฉายขึ้นจอเพื่อบรรยาย สัมมนา ฝกอบรมและการเรียนการสอน ใชในอุตสาหกรรมการพิมพ เชน ปกนิตยสาร ปฏิทิน ส.ค.ส. โปสเตอร ฯลฯ

การเก็บรักษาฟลม
เพื่อเปนการรักษาฟลมใหมีความคงทน จึงควรปฏิบัติดังตอไปนี้
1. เก็บใหหางจากความชื้นและแสงแดด
2. ใหไกลจากสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะไปทํ าอันตรายตอฟลมได เชน
 ฟอรมาลิน, ไฮโดรเจนซัลไฟด, แอมโมเนีย เปนตน
3. ไกลจากทีวีและที่ที่มีแสงรังสีเอ็กซ (X-Rays)
4. เก็บในที่มืดและอุณหภูมิตํ่ ากวา 25 ํ C
ในกรณีที่มีฟลมยังไมไดใช อาจจะเก็บไวในตูเย็น โดยการนํ าฟลมใสลงในถุงพลาสติก
มัดปากถุงใหแนนแลวไวในชองเก็บ เมื่อตองการใชใหนํ าฟลมออกจากตูเย็น ทิ้งไวใหอุณหภูมิของ
ฟลมเทาอุณหภูมิหองเสียกอน แลวจึงแกะกลองบรรจุฟลมใสฟลมเขากลอง เพื่อที่จะนํ าไปถาย
ภาพตอไป


ฟลมเนกาทิฟ

ฟลมรีเวอรแซล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น