วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

เฉลย คำถาม

Download เฉลย

วีดีโอเทคนิค การถ่ายภาพเบื้องต้น

เทคนิคการถ่ายภาพเบื้องต้น

คำถามจากการเรียนรู้

1. ไฟล์ภาพนามสกุลใดที่ให้ความละเอียดได้สูงที่สุด
ก. RAW                                                               ข. JPG
ค. TIFF                                                                ง. GIF

2. ไฟล์ภาพขนาดใดต่อไปนี้ที่สามารถนำไป Print ภาพได้ดีที่สุด
ก. 400x600 พิกเซล                                                  ข. 1200x1800 พิกเซล
ค. 2000x3000 พิกเซล                                               ง. 2600x3800 พิกเซล

3. ข้อใดคือขนาดภาพที่ได้จากกล้องที่มีความละเอียด 6 ล้านพิกเซล
ก. 400x600 พิกเซล                                                   ข. 1200x1800 พิกเซล
ค. 2000x3000 พิกเซล                                                ง. 2600x3800 พิกเซล

4. Memory Card ขนาด 1GB สามารถถ่ายภาพที่มีขนาด 1200x1800 พิกเซล ได้กี่ภาพ
ก. 240                                                                  ข. 380
ค. 420                                                                  ง. 460

5. อะไรที่ไม่ใช่ข้อดีของการตั้งค่าความไวแสง (ISO) ต่ำ
ก. เหมาะกับการถ่ายภาพในแสงแดดจ้า
ข. ได้ความไวชัตเตอร์ต่ำ เพื่อจะถ่ายภาพให้ดูเคลื่อนไหว
ค. ใช้แฟลชได้ในระยะใกล้
ง. รูรับแสงกว้าง ทำให้ฉากหลังพร่ามัว

6. ระบบวัดแสงในกล้องถ่ายภาพโดยทั่วไปจะเห็นวัตถุเป็นสีอะไร
ก. แดง                                                                    ข. เขียว
ค. น้ำเงิน                                                                  ง. เทา

7. แบบมีรูปหน้ากลมใหญ่ควรหลีกเลี่ยงทิศทางแสงแบบใด เพื่อให้ใบหน้าดูเรียวขึ้น
ก. แสงหน้า                                                               ข. แสงข้าง
ค. แสงหลัง                                                               ง. แสงบน

8. สภาพแสงใดต่อไปนี้เหมาะแก่การถ่ายภาพวัยรุ่นให้ดูสดใส
ก. แสงแข็ง                                                               ข. แสงนุ่ม
ค. แสงที่มีความเปรียบต่างสูง                                            ง. ถูกทั้งข้อ ข และ

9.
ข้อใดต่อไปนี้ให้ช่วงความชัดน้อยที่สุด (ชัดตื้น)
ก. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 100 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 2 เมตร
ข. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 3 เมตร
ค. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 100 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 3 เมตร
ง. ใช้เลนส์ทางยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ระยะห่างจากแบบ 2 เมตร

10. ข้อใดเป็นข้อจำกัดในการถ่ายภาพบุคคลด้วยกล้องคอมแพ็คมากที่สุด
ก. ถ่ายภาพมุมกว้างได้ยากมาก
ข. สีเพี้ยน
ค. เข้าใกล้แบบได้น้อย
ง. ทำฉากหลังเบลอได้ยาก

อ้างอิง

  • การถ่ายภาพเบื้องต้น มหาวิทยาลัยรามคําแหง
  • เรียนรูเทคนิคและศิลปการถายภาพ จาก บางกอกสาสน
  • ทฤษฎีถายภาพ หนังสืออรุณการพิมพ์
  • เว็บไซน์ www.google.com
  • เว็บไซน์ www.sanook.com

เทคนิคการถายภาพแบบตาง ๆ

การถายภาพบุคคล (Portraits)
    การถายภาพบุคคล เปนการถายใบหนา รูปราง บุคลิก การแตงกาย อารมณ ตลอด จนการออกทาทางของคน ๆ นั้น ในโอกาสตาง ๆ กัน ไมวาจะเปนการไปเที่ยว การไปตามสถานที่ งานเทศกาลตาง ๆ หรือถายภาพเพื่อเก็บไวเปนอนุสรณ ภาพบุคคลที่ดีนั้น จุดเดนอยูที่ตัวคน กอนกดชัตเตอรจึงควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
1. ตัวแบบอยูในทาที่ดูดีที่สุด ไมวาจะเปนใบหนา เครื่องแตงกาย ทาทาง การ แสดงออกของอารมณที่ตองการอยางเต็มที่
2. หลังฉากไมมีสิ่งรบกวนสายตา เชน มีตนไมยื่นออกมาเหนือศีรษะ มีคนอื่นอยู ดานหลังแบบ หรือเสน
ขอบฟาพาดอยูบริเวณคอ เปนตน หากเลี่ยงไมไดให เปดรูรับแสงใหใหญ เพื่อใหฉากหลังอยูนอกโฟกัส
3. ระวังแบบนัยนตาหยีหากถายยอนแสง
4. ไมควรใชเลนสมาตรฐานถายในระยะใกลมาก เพราะจะทําใหสัดสวนของใบ หนาบิดเบี้ยว ใหใช้
เลนสถายไกลแทนจะไดผลดีกวา เปนการทําใหหลังฉาก พรามัวดวย เลนสขนาด F 105 ม.ม. หรือ 135 ม.ม. เหมาะที่สุด
5. ดวงตาของแบบ บอกอารมณของภาพเปนอยางดี
6. แสงธรรมชาติที่มีตนแสงอยูสูง และเฉียงเปนมุม 45 องศา จากเสนแบงกลาง ของใบหนา จะทําใหเห็นรูปพรรณสันฐานไดชัดเจน และยังสรางเงาบนใบหนา ไดกลมกลืนนาดูอีกดวย ทําใหภาพมีมิติ ไมแบนจนขาดความสวยงาม

การถายภาพทิวทัศน (LandScape)
    ภาพทิวทัศนเปนอีกภาพหนึ่งที่นิยมถายกันมาก เปนการบันทึกบรรยากาศขณะนั้นไวใน ความทรงจํา เปนภาพที่อาศัยแสงจากธรรมชาติ ไดแก ภาพทิวเขา ภาพปาไม ทะเล เปนตน เนื่องจากภาพทิวทัศนมีพื้นที่กวาง ระยะชัดลึกจึงมีความสําคัญมาก ตองใชรูรับแสง เล็ก ๆ เพื่อ ใหไดภาพชัดลึกมาก ๆ ยกเวนในกรณีตองการเนนจุดเดนจริง ๆ เทานั้นอาจถายชัดตื้น โดยปกติควรใช F 11, F 22 และอาจตองชดเชยแสงโดยใชชัตเตอรชา ๆ ในกรณีที่มีแสงนอย การเลือกมุมภาพก็เปนสวนที่ตองระมัดระวัง มุมภาพที่แปลกออกไป จะทํ าใหภาพนั้นนาสนใจ ควรวางจุดสนใจตรงจุดตัดตามกฎสามสวน บางครั้งอาจตองใชฟลเตอรแกสีใหถูกตอง เพิ่มสีพิเศษหรือตัดแสง ตัดหมอก ในภาพ หากมีสิ่งมีชีวิตดวย จะเปนการเพิ่มสีสันใหกับภาพยิ่งขึ้น เลนสที่นิยมใช ไดแก เลนสมาตรฐาน 50 ม.ม., เลนสมุมกวาง 24 ม.ม., 35 ม.ม

การถายภาพยอนแสง (Silhouette)
    ภาพยอนแสงเปนการถายภาพที่แหลงกําเนิดแสงอยูดานหลังของแบบ ไมสนใจในราย ละเอียดหรือสีของแบบ แตไปเนนตรงรูปราง รูปทรงของวัตถุ (Shape) มักถายในชวงเชาหรือเย็น ขณะดวงอาทิตยใกลตกหรือตกใหม ๆ ซึ่งเปนเวลาที่แสงไมจัดและใหสีที่สวยงาม ไมวาจะเปนสี มวง สีแสด หรือสีแดงนักถายภาพควรเตรียมขาตั้งกลองและสายลั่นไกชัตเตอรไปดวย การวัดแสงจะตองวัดใหอันเดอร 2-3 สตอปและใชรูรับแสงที่เล็ก ควรถาย 3 ภาพเปนอยางนอย โดยใหรูรับแสงแตกตางกัน ระวังไมใหแสงเขาเลนสโดยตรง จะทําใหเลนสเสื่อมเสียหายได ถาตองการใหภาพมีสี
ของฉากหลัง มีความแปลกออกไปอาจใชฟลเตอรสีเขาชวย

การถายภาพกลางคืน (Night Picture)
    การถายภาพกลางคืนนั้น จะตองใชอุปกรณที่จํ าเปน คือขาตั้งกลอง สายลั่นไก ชัตเตอร นาฬิกาจับเวลาถาเปนชนิดเรืองแสงยิ่งดี ไฟฉายเล็ก ๆ ภาพกลางคืน เปนภาพที่อาศัยแสงจากดวงไฟตามทองถนน ปายโฆษณาตาง ๆ ไฟจากรถยนต พลุในเทศกาลตาง ๆ การประดับ ประดาของตึก อาคารบานเรือน พิธีเวียนเทียนในวันอาสาฬหบูชา ฯลฯ ไมควรใชแฟลชเนื่องจากแสงไฟในเวลากลางคืน มีความเขมของแสงนอย จําเปนตองใชความเร็ว ชัตเตอรชามาก ตํ่ากวา 1 วินาที และเปดรูรับแสงเล็ก เพื่อตองการความชัดลึกมาก ขาตั้งกลองและ สายลั่นไกชัตเตอร จึงมีความจําเปนอยางยิ่งเพื่อใหกลองนิ่งที่สุด

การถายภาพดอกไมและของเล็ก ๆ
    ดอกไมเปนผลิตผลจากธรรมชาติที่ใหความสวยงามกับโลก มีรูปทรงแบบตาง ๆ สีสัน สวยงาม ธรรมชาติของดอกไม ไมวาจะเปนดอกไมที่ปลูกไวในสวนสาธารณะ ในบาน หรือเปน ดอกไมปานานาพันธุ จะมีลักษณะพิเศษเฉพาะ มีรูปทรงหรือสีสันอันสวยสดงดงามกันคนละแบบ ตั้งแตยังเปนดอกตูม แรกแยม ไปจนกระทั่งเบงบานเต็มที่ กลีบของดอกไมโดยทั่วไปมักจะบาง เมื่อมีแสงสองมา
จากดานขาง หรือดานหลัง จะทําใหเกิดไรแสงตามขอบดอกสวยงามมาก ควรถา ดอกไมในเวลาเชา ดอกยังสดและมีนํ้าคางเกาะ ควรเตรียมที่ฉีดนํ้าไปดวย ชนิดที่ใชฉีดตอนรีดผา หากฉากหลังรกใหถายชัดตื้น หรือ ใชกระดาษสีดําเปนฉากหลัง ควรมีเลนสแมโคร 50 ม.ม. หรือเลนสโคลสอัพ จะไดภาพที่โตขึ้น การถายสิ่งของเล็ก ๆ ก็เชนกัน ควรวางแบบบนพื้นหลังที่เรียบ ไมสะทอนแสง เนื่อง จากชวงโฟกัสนอยมาก ควรปรับโฟกัสอยางชา ๆ และแมนยํา ไมเชนนั้นภาพอาจจะพรามัวได เพื่อใหกลองนิ่งอาจตองใชขาตั้งกลอง หรือแทนกอบป (Copy Stand) ชวยยึดกลอง

การถายภาพหุนนิ่ง (Still Life)
    ภาพหุนนิ่ง หมายถึง ภาพวัตถุสิ่งของตาง ๆ ที่มีขนาดไมใหญนัก สามารถนํามาจัดให เขาชุด มองดูสวยงาม ใชเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ เชน ภาพผลไม ภาพแจกันดอกไม ภาพตุกตา เปนตน
การถายภาพหุนนิ่ง เปนการถายภาพในรมหรือในหองสตูดิโอ ตองมีอุปกรณจําพวก ฉาก ไฟสองแบบตาง ๆ โตะวางแบบ และจัดแสงตามขั้นตอนดังนี้
1. จัดใหมีแสงหลัก เพื่อใหเกิดสวนที่สวางกับสวนที่มืด ทํ ามุม 40-60 องศา ซึ่งใกลเคียงกับแสงธรรมชาติ
2. จัดแสงรองเพื่อเปดเงา นิยมจัดแสงหลักตอแสงรองในอัตราสวน 3 : 1 หรือ 4 : 1
3. ฉากหลังควรเปนสีออนและแยกหางจากตัวแบบ

4. อาจจัดแสงเสริมตามความเหมาะสม

การถายภาพเด็ก
    ความไรเคียงสา ความนารักของเด็ก ๆ ทําใหนักถายภาพอดไมไดที่จะตองนํากลองออก
มาถาย เก็บภาพนารักเหลานั้นไวเปนที่ระลึก เด็ก ๆ ไมวาจะทําอะไรก็เปนธรรมชาติ ดังนั้น จึง ควรถายภาพเด็กในขณะที่ทํ ากิจกรรมของตน ไมวาจะเปนการเลน กิน หรือ กําลังสนใจสิ่งแวด ลอม หากไมมีควรหาของเลนไปใหเด็กไดเลน เพื่อละความสนใจจากกลอง ทําใหไดภาพที่เปน ธรรมชาติ เนื่องจากเด็กเล็กมักจะซุกซน การจะเขาไปจัดทาทางใหยอมเปนไปไมได การถายภาพ จึงตองใหผูชวย หาสิ่งของคอยหลอกลอ ดึงดูดความสนใจมาทาง กลองและทํ าใหเด็กเคลื่อน ไหวนอยลง ทํำใหปรับโฟกัสไดงาย บางครั้งอาจตองเตรียมของเลนมาดวย การเขาไปถายเด็ก ในระยะใกล จะทําใหเด็กเกร็งและไมเปนธรรมชาติจึงควรถายดวย เลนสถายไกล 105 ม.ม. หรือ 135 ม.ม. ยังเปนการขจัดฉากหลังที่รกรุงรังอีกดวย

การถายภาพเคลื่อนไหว
    ภาพเคลื่อนไหว เชน การแขงรถ กีฬา การละเลนตาง ๆ ควรใชกลองที่เปลี่ยนเลนสได ขอแนะนําวากลอง 35 ม.ม. สะทอนภาพเลนสเดี่ยวเหมาะที่สุด เลนส Zoom ขนาด 35-105 ม.ม., 70-210 ม.ม. หรือเลนสถายไกลขนาดตั้งแต 85 ม.ม. ขึ้นไปจะใชงานไดดีในการถายภาพสตอปแอ็คชั่น (Stop Action) จะตองใชความเร็วชัตเตอรสูงกวา 1/125 วินาที ทั้งนี้ขึ้นกับความเร็วของแบบ และทิศทางการเคลื่อนที่ เชน การวิ่งแขงขัน ควรใช ประมาณ 1/250 วินาทีก็นาจะพอ แตหากเปนการแขงรถมอเตอรไชด ตองใชไมตํ่ ากวา 1/500 วินาที ยกเวนเปนการถายภาพแพนนิ่ง คือ การถายโดยสายกลองไปตามการเคลื่อนที่ของแบบ ฉากหลังจะพรามัว ภาพแบบนี้ควรใชความเร็วชัตเตอรชา ประมาณ 1/15 - 1/16 วินาที

    สิ่งสําคัญที่สุดในการถายภาพแนวนี้ คือ ความคมชัดของภาพ การปรับโฟกัสเนื่องจาก ตัวแบบเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา ไมสามารถที่จะปรับโฟกัสไดทัน แมแตกลองชนิดโฟกัสอัตโนมัติ ก็ตาม เพราะฉะนั้นจะตองโฟกัสไวลวงหนา จุดโฟกัสนั้นจะทํ าการโฟกัสที่พื้นถนนที่คาดวาตัว แบบจะผานจุดนั้น ควรถายเผื่อ 2-3 ภาพดวยความไวแสงของฟลมใหใชขนาด ASA 100 , 200 ก็เพียงพอ

    เทคนิคการถายภาพที่กลาวมา เปนเพียงขอแนะนําเบื้องตนที่ควรทราบ การไดมีโอกาส ถายในสถานการณจริง จะพบกับปญหา อุปสรรคตาง ๆ ประสบการณจะสอนใหรูจักแกปญหา ซึ่งเปนเกร็ดเล็กเกร็ดนอย วารสารถายภาพในทองตลาดมีบทความที่เขียนเกี่ยวกับประสบการณ การถายภาพใหไดทราบ

การจัดองคประกอบภาพ

    ในการถายภาพใหไดดีนั้น นักถายภาพนอกจากจะตองมีความรูเกี่ยวกับกลอง ฟลม อุปกรณถายภาพ และใชงานไดอยางคลองแคลวแลว ความเขาใจในเรื่องการจัดองคประกอบ ภาพ (Composition) มีความสํ าคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน การจัดองคประกอบภาพเปนศิลปะ อยางหนึ่ง ที่ตองอาศัยความละเอียดออน รอบคอบ ความเขาใจในศิลปะ นักถายภาพที่มีความรู ทางศิลปะ จะไดเปรียบในการมองภาพ ทั้งนี้ไมไดหมายความวา ผูที่ไมประสีประสาในศิลปะ จะ เปนนักถายภาพที่ดีไมไดเพียงแตตองอดทน ฝกฝน หมั่นหาความรูใหมากขึ้น ภาพตาง ๆ ที่จะถายนั้นมีอยูทั่วไป จะทํ าอยางไรใหภาพนั้นมองดูสวยงาม การจัดองค
ประกอบภาพมีหลักใหญ ๆ อยู 4 ประการ ดังนี้
1. การเนนจุดเดน
2. ความสมดุล
3. ความกลมกลืน
4. ความแตกตาง

การเนนจุดเดน ภาพถายที่สวยงามโดยการเนนจุดเดนนั้น แบงออกเปนหัวขอยอยไดอีก คือ
- เนนโดยใชสี
- เนนโดยใชเสน
- เนนที่รูปราง
- เนนที่ขนาดของวัตถุ
    นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงการเวนชองวาง การใชสัดสวน การวางตําแหนงของจุดเดน ตลอดจนการเนนโดยใชความคมชัด การเนนโดยใชสี เปนการเนนภาพโดยใชสีที่เดน ซึ่งมักเปนสีโทนรอน เชน สีแดง สีแสด จะชวยใหสิ่งที่เราตองการเนนในภาพเดนชัดขึ้น เปนตนวา ดอกกุหลาบสีแดงในกลุมใบไมสีเขียว หญิงสาวใสเจ็คเก็ตสีแสดกลางปาที่มีหมอกจัดนิยมใชสีสดใสเปนจุดเดน ฉากหลังเปนสีออนหรือสีตรงขาม และอาจทํ าใหฉากหลังอยูนอกโฟกัส โดยการเปดรูรับแสงใหใหญมากๆ การเนนโดยเสน ราวสะพาน เสนขอบฟุตบาธ สวนโคงสวนเวาของสัดสวนหญิงสาว ตนมะพราวสูงชะลูด ที่มีทองฟาสีแดงยามตะวันตกดิน เสนเหลานี้ชวยใหภาพสวยเดนขึ้นอยางประหลาด

การเนนที่รูปราง เปนการเนนที่หมายรวมถึงสัดสวนดวย เชน มีสมอยูชะลอมหนึ่ง ทุก
ผลมีลักษณะและสีใกลเคียงกัน แตกลับมีสมผลหนึ่งที่มีลักษณะผิวขรุขระกวาผลอื่น ๆ อยางเห็น
ไดชัด หรือภาพทามกลางเด็ก ๆ ที่เลนโคลน เนื้อตัวหนาตามอมแมมไปหมด แตมีตุกตาสาวนอย
นารักสะอาดสะอานนั่งอยูขาง ๆ

การเนนที่ขนาดของวัตถุ เปนภาพที่มีจุดเดนมีขนาดใหญกวาสวนประกอบอื่น ๆ ภายในภาพ เชน ไขไกหนึ่งตะกรา มีไขนกกระจอกเทศอยูดวยหนึ่งใบ หรือแบบที่มีขนาดเทา ๆ กัน จัดภาพใหเกิดระยะใกลไกล ทํ าใหเกิดความรูสึกวาแบบมีขนาดตางกัน นอกจากนี้ การวางตํ าแหนงของจุดสนใจในภาพ มีสวนสํ าคัญที่ทํ าใหภาพมองดู สวย งาม ในวงการศิลปะไมนิยมวางจุดเดนไวกลางภาพ แตก็สามารถพบเห็นอยูบาง เปนการเนน อยางจงใจ เมื่อลากเสนตรงสองเสนแบงเนื้อที่ของภาพ ออกเปนสามสวนทั้งแนวตั้งและแนว นอนใหมีพื้นที่เทา ๆ กัน จะเกิดจุดตัดกันของเสนขึ้น 4 จุด จุดตัดทั้ง 4 จุดนี้ คือจุดที่ควรวาง ตําแหนงจุดสนใจ (จุดเดน) ของภาพที่ตองการเนน จะใชจุดใดจุดหนึ่งก็ไดใน 4 จุดนี้แลวแตความเหมาะสม เปนไปไดทั้งภาพแนวตั้งหรือแนวนอน เรียกการแบงภาพเชนนี้วา 
“กฎสามสวน”




ความสมดุล (Balance)
    ความสวยงามของภาพถายนั้น นอกจากจะขึ้นอยูกับจุดเดนของภาพแลวยังตองมีองค ประกอบอื่น ๆ ที่จะทํ าใหภาพสวยงามขึ้นอีก หนึ่งในจํ านวนนั้นคือ “ความสมดุล” ความสมดุลมี 2 ลักษณะ ไดแก
1. ความสมดุลที่เทากัน (Formal or Symetry Balance)

2. ความสมดุลที่ไมเทากัน (Informal or Asymetry Balance)

ความสมดุลที่เทากัน 
    เปนความสมดุลของภาพ ที่เกิดจากความเหมือนกันของซีกซาย กับซีกขวา เชน ภาพโบสถ เจดีย ไมวาจะเปนขนาด รูปทรง แมแตนํ้ าหนักของสีภาพลักษณะนี้ใหความรูสึกมั่นคง เครงขรึม และดูสงา

ความสมดุลที่ไมเทากัน 
    เปนความสมดุลที่ดูเสมือนวา มีความเทากันทั้ง 2 ซีก โดยการ จัดวางนํ้าหนักใหเหมาะสม เชน ภาพดวงอาทิตยกลมโตอยูทางซายมือ แลวมีชายแกกับเด็ก กําลังยืนมองไปที่ดวงอาทิตย โดยยืนทางขวามือของภาพ เปนภาพที่ใหความรูสึกวาสมดุลได เหมือนกัน

ความกลมกลืน
    ความประสานกลมกลืนกัน ขององคประกอบตาง ๆ ภายในภาพ จนเกิดความเปนอัน หนึ่งอันเดียวกัน หรือที่เรียกวา “ความเปนเอกภาพ” (Unity) สามารถทําไดโดยการใชรูปทรง เสน และสีเขามาชวย วัตถุที่มีขนาด ลวดลายที่เทากัน หรือใกลเคียงกันเมื่อมารวม ๆ กัน ทําให เกิดความรูสึกกลมกลืน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สีที่อยูในโทน (Tone) เดียวกัน จะมีความกลมกลืนกันอยูในตัว

ความแตกตาง
    ในการจัดองคประกอบภาพที่มีแตความกลมกลืนเพียงอยางเดียว ทําใหรูสึกซํ้าซาก
จําเจ แลวผลที่ตามมาก็คือความนาเบื่อหนาย ดังนั้นเพื่อไมใหเกิดความเบื่อหนาย แกไขโดยการ
ทําใหเกิดความแตกตางขึ้นในภาพ ความแตกตางอาจแบงอยางกวาง ๆ ไดดังนี้
- รูปทรง
- แสง
- เสน
- สี
ในหัวขอนี้จะขอกลาวรวม ๆ ไปเลย รูปทรงและลักษณะที่ไมเหมือนกันสามารถทําใหได ภาพที่แปลกและสวยไปอีกแบบ ความสวางและความมืด แสงและเงาที่ตัดกันมาก ๆ ทําใหภาพ นั้นนาดูยิ่งขึ้นไดเชนกัน รอยยนบนผิวหนาของชายชรา สามารถบงบอกถึงการตอสูของชีวิตได อยางดี เสนตาง ๆ ในภาพบอกความหมายไดตาง ๆ นานา เสนตรงแสดงถึงความเขมแข็ง สงา มั่นคง แข็งแรง เสนตั้งบงบอกถึงความสูง ความมีระเบียบ เสนนอนแสดงถึงความเรียบงาย เชน เสนขอบฟา (เสนที่ขอบทะเลหรือแผนดินจรดกับทองฟา) ไมนิยมจัดไวกลางภาพเพราะจะทําใหรู สึกวา ภาพถูกแบงออกเปน 2 สวน นิยมจัดไว 1/3 ของภาพหรือ 2/3 ก็ไมผิดกติกา และระวัง เสนขอบฟาเอียง ทําใหภาพขาดความสวยงาม เสนโคงแสดงถึงความออนชอย ราเริง สวนเสนทะแยงบอกถึงการเคลื่อนไหว

    จะเห็นไดวา การจัดองคประกอบของภาพ เปนสวนสําคัญที่จะใหไดภาพที่สวยงาม นอกจากการมีกลองที่ดี มีฟลมที่มีคุณภาพ มีอุปกรณมากมาย อยางไรก็ตาม การถายภาพยังขึ้นอยู กับความชํ านาญ ประสบการณของนักถายภาพอีกดวย ประกอบกับการไดพบไดเห็นตัวอยางภาพถายที่ดี ๆ มาก ๆ การยอมรับการวิจารณจากผูมีความรู คําแนะนําที่เปนประโยชน อยางนี้ แลวทานจะเปนคนหนึ่งที่ถายภาพไดดีในอนาคต

อุปกรณถายภาพที่ควรรูจัก

แฟลช (Flash)
    แฟลชเรียกเต็ม ๆ วา “อิเล็กทรอนิกสแฟลช” (Electronic Flash) ในกลองถายภาพ บางรุนจะมีแฟลชติดมากับกลองเลย ถาเปนอยางนี้ก็ไมตองไปหาซื้อมาเพิ่มใหสิ้นเปลืองเงิน สําหรับกลองที่ไมมีแฟลชติดมาดวย ก็จํ าเปนจะตองซื้อหามาใช เพราะในเวลา 24 ชั่วโมง แสง จะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในเวลาที่มีแสงนอยก็ใชแฟลชชวยสองสวางแทน ไมใหภาพที่ถายมืด เกินไป นักถายภาพเรียกวา “อันเดอร” (Under) แฟลชที่มีขายในทองตลาดมีตั้งแตขนาดเล็ก ราคา 400-1,000 บาท ไปจนถึงขนาดใหญราคา 2,000-4,000 บาท ขึ้นอยูกับงานและกํ าลังเงิน ของนักถายภาพเอง จะตองพิจารณาเลือกซื้อ ถาใชงานถายภาพเฉพาะภายในครอบครัว เวลา ไปทองเที่ยวอาจใชขนาดเล็กก็คงเพียงพอ แตถาใชถายภาพคนหมูมาก เชน การประชุมสัมมนา การแสดงบนเวที อยางนี้ตองใชแฟลชที่มีขนาดใหญ กําลังสองสวางมากหนอย 
    วิธีการใชแฟลชนั้น ทุกยี่หอมีวิธีการใชเหมือนกันหมด จะเริ่มดวยการตอสายไฟแฟลช เขากับตัวกลอง เพื่อใหแฟลชทํ างานไปพรอมกับการลั่นไกชัตเตอร การตอสายไฟแฟลชนั้นมี 2 วิธี คือ เสียบแฟลชเขากับฐานรองแฟลช (Hot shoe) โดยตรง อีกวิธีเสียบสายแฟลชเขาที่ชองเสียบที่ อยูบนตัวกลอง ซึ่งมีอักษร x กํากับ

ขาตั้งกลอง (Tripod)
    ขาตั้งกลองเปนอุปกรณถายภาพ ที่นักถายภาพควรจะหาซื้อมาใช โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูที่ชอบถายภาพในยามคํ่าคืน ขาตั้งกลองมีไวสําหรับยึดกลองใหนิ่งมั่นคง โดยเฉพาะการถาย ภาพในที่มีแสงสวางนอย เนื่องจากตองใชความเร็วชัตเตอรชา ๆ เพื่อใหรับแสงไดนาน ๆ โดยกลอง ไมสั่นไหว เชน ไฟตามทองถนนยามคํ่าคืน ตองตั้งความเร็วชัตเตอรใหชากวา 1/30 วินาที รวม ทั้งการถายภาพตนเองโดยใชเครื่องหนวงลั่นไกบนกลองถายภาพ โดยทั่วไปขาตั้งกลอง มีลักษณะเปนขาสามขายึดติดกัน สามารถพับเก็บหรือกางออก ไดยืดขึ้นไดสูงถึงระดับสายตา เมื่อติดตั้งกลองบนขาตั้งกลองแลวสามารถ
สายกลองไปซายขวา หรือการแพนนิ่ง (Panning) ปรับมุมกลองใหกมเงย (Tilt) ไดตามตองการ มีนํ้าหนักเบา เมื่อ พับเก็บสามารถพกพาไปไดสะดวก

สายลั่นไก (Cable Release)
    สายลั่นไกเปนอุปกรณที่ใชควบคูกับขาตั้งกลอง โดยการหมุนเกลียวตอเขากับปุม ชัตเตอรที่ตัวกลอง เมื่อกดไกชัตเตอรผานสายลั่นไก จะมีความนิ่มนวลกลองจะไมสั่นไหว นอก จากนี้ยังสามารถลอคไกชัตเตอรใหคางไวไดเมื่อใชกับความเร็วชัตเตอรที่ B นักถายภาพตองการ ถายภาพที่ใชเวลานานกวา 1 วินาที พิธีเวียนเทียนรอบโบสถวันวิสาขบูชา เปนตัวอยางหนึ่งที่นัก ถายภาพจะตองใชความเร็วชัตเตอรที่ชา 10 - 45 วินาที

ชุดอุปกรณทําความสะอาดกลองถายภาพ (Cleaning Accessories)
    เมื่อนํากลองถายภาพออกใชงาน ก็ตองพบกับฝุนละออง ความสกปรก ความเปยกชื้น จึงควรมีชุดทําความสะอาดกลองสักชุด สามารถหาซื้อไดตามรานถายภาพทั่วไป ประเภทแยก ชิ้นขายก็มี ซึ่งชุดทําความสะอาดกลองประกอบดวยหนังชามัวรหรือกระดาษเช็ดเลนส แปรงปดฝุน นํ้ายาเช็ดเลนส สําลีพันปลายไม (Cotton Bud) และโบลเวอร (Blower) สําหรับเปาลม (กระเปาะยางบีบลม) ปจจุบันมีเปนสเปรยกระปองจําหนาย

กรวยบังแสง (Lens hood)
    กรวยบังแสง เปนอุปกรณที่ใชปองกันแสงที่ไมพึงประสงค สองมาจากดานขางสะทอน เขาไปในเลนส มีลักษณะเปนรูปกรวย อาจทํ าจากยางหรือโลหะก็ได สวนใหญเปนเกลียวหมุน เขาไปที่หนาเลนส หรือสวมตอจากฟลเตอรก็ได

ฟลเตอร (Filter)
    ฟลเตอร หรือเรียกอีกอยางวา “แผนกรองแสง” มีหนาที่ในการปรับแสง กรองแสง เพื่อใหไดภาพที่สวยงาม ถูกตอง หรือใหไดภาพพิเศษแปลกออกไปกวาปกติ มีลักษณะเปนแวน กลมตรงขอบเปนเกลียว หรือเปนแผนสี่เหลี่ยมบาง ซึ่งตองใชคูกับที่จับขอบ (Holder) ฟลเตอร มักทําจากแกวหรือเจลาติน เราพอที่จะจําแนกหนาที่ของฟลเตอรไดดังนี้
1. กรองแสง ตัดรังสีเมฆหมอก ตัดแสงสะทอน ลดแสง
2. แกสี
3. เพิ่มสีสัน
4. ใหผลของภาพพิเศษ
ในที่นี้จะขอกลาวรวม ๆ กันไป ฟลเตอรที่นักถายภาพรูจักเปนชิ้นแรก ไดแก ฟลเตอร สกายไลท (Skylight) โดยซื้อมาพรอมกับซื้อกลอง ครอบอยูหนาเลนสมีสีชมพูออน เพื่อเปนการ ปองกันฝุนละออง การขีดขวนที่จะเกิดกับเลนสใหภาพสีสดขึ้น ตัดหมอกไดเล็กนอย ฟลเตอรชิ้น ตอไปที่ควรจะหามาอาจจะเปนชนิดเพิ่มสีสัน เชน สีแดง ใชถายตอนตะวันตกดิน สีฟาเขมไวถายทิวทัศน หรือฟลเตอรที่ใหผลของภาพพิเศษ เชน ซันนี่ครอส (Sunny Cross) ทํ าให ภาพบริเวณที่มีแสงเปนแฉกมัลติอิมเมจ (Multiimage) ภาพซอนกัน 2 - 5 ภาพ แลวแตแบบของ ฟลเตอรซอฟตัน (Softon) สํ าหรับทําใหภาพนุมคลายอยูในความฝน

เลนสโคลสอัพ
    มีลักษณะคลายฟลเตอร ใชสวมหนาเลนสเพื่อขยายวัตถุเล็ก ๆ เชน ภาพดอกไม ภาพ แมลง ราคาอันละรอยกวาบาท มีเบอร +1, +2, +3, +10 เบอรสูงมีกํ าลังขยายมาก ขอเสียของ เลนสโคลสอัพ จะสูญเสียความคมของภาพไปสวนหนึ่งโดยเฉพาะบริเวณขอบภาพ ดังนั้น นักถายภาพที่นิยมถายวัตถุสิ่งของเล็ก ๆ เชน แมลง ดอกไม หยดนํ้ า ฯลฯ ขอแนะนํ าใหใชเลนสแมโครจะใหคุณภาพของภาพดีกวา และยังสามารถนํามาถายภาพบุคคลไดดวย
    
    อุปกรณที่กลาวมาขางตน เปนเพียงอุปกรณขั้นตนที่นักถายภาพควรรูจัก นอกจากนี้ยัง มีอุปกรณอื่นอีกมาก ที่มีจําหนายในทองตลาด เพื่อใหนักถายภาพเกิดความสะดวกและเพื่อผล ภาพพิเศษตาง ๆ สามารถศึกษาไดจากหนังสือกลองถายภาพ นิตยสารและรานถายภาพโดยทั่วไป





ฟลม

    ฟลมถายภาพเปนวัสดุไวแสง มีหนาที่รับแสงที่ผานเลนสเขามาในกลองถายภาพ โดย แสงเขามาตกกระทบฟลมแลว สารเคมีจําพวกซิลเวอรแฮไลด ที่เคลือบฉาบบนผิวฟลม จะทำปฏิกริยาเคมีเกิดเปนภาพแฝงขึ้น และเมื่อนํ าไปผานขั้นตอนการลางฟลม จะไดเห็นภาพปรากฏขึ้น บนฟลม และนําไปอัดขยายหรือเพื่อการอื่นตอไป

โครงสรางของฟลม

    ฟลมทํามาจากแผนอะซิเตทใส (Acetate) ฉาบดวยสารเคมีไวแสง(Emulsion) จําพวก ซิลเวอรแฮไลด เชน ซิลเวอรโบรไมด (Silver bromide) สังเกตไววา ฟลมดานหนึ่งจะมีความมัน มากกวาอีกดาน โดยที่ดานมันคือฐานรองรับหรือฐานฟลม (Base) และอีกดานจะถูกฉาบดวยนํ้ายาไวแสง ซึ่งผิวจะมีความมันนอยกวา และเปนดานที่จะรับการฉายแสงในขณะกดชัตเตอร ในทางเทคนิค มีความละเอียดออนในการผลิตฟลมอยางมาก โดยการเตรียมสารและ ฉาบสารไวแสงเปนชั้น ๆ พอสรุปไดดังนี้

1. Protective Overcoating เปนชั้นที่ทําหนาที่ปองกัน ไมใหเกิดการถลอก หรือรอย ขีดขวนตาง ๆ ขึ้นบนผิวหนาของฟลม ในขณะที่ทําการถายหรือลางฟลม (a และ f)

2. Emulsion (b) เปนชั้นของตัวยาไวแสง ซึ่งผลิตจากการผสมเงินไนเตรท โปรตัสเชียมโบรไมด และสารอื่น ๆ กับเจละติน (Gelatin) ปริมาณของสารแตละตัว และเทคนิคการผลิต เปนความลับของแตละบริษัท
3. Adhesive Subcoating (c) ทํ าหนาที่เชื่อมให Emulsion ติดแนนบนฐานฟลม
4. Antihalation Backing (e) สารตัวนี้ฉาบดานหลังของฟลม ทํ าหนาที่ปองกันมิให แสงที่เขามากระทบฟลมเกิดการสะทอนกลับ ซึ่งมีผลทํ าใหภาพสูญเสียความคมชัด
5. Base (d) ชั้นแผนอะซิเตทใส นอกจากนี้อาจจะมีการฉาบสารเคมีอื่น ๆ อีกได อันเปนเทคนิคการผลิตของแตละบริษัท

การแบงประเภทของฟลม
ฟลมสามารถแบงประเภท โดยใชหลักเกณฑดังตอไปนี้
1. แบงตามลักษณะภาพที่ไดจากการบันทึก
2. แบงตามขนาดของฟลม
ฟิลมแบงออกเปนกลุมตามการใชงานทั่วไป ได 2 กลุมดวยกัน คือ
1. ฟลมเนกาทิฟ (Negative Film)
2. ฟลมรีเวอรแซล (Reversal Film)


ฟลมเนกาทิฟ
    เปนฟลมที่ใหสีตรงกันขามกับสีของสิ่งที่ถาย เมื่อดูที่ฟลมหลังการลางเสร็จแลว เชน คนผมดําบนฟลมจะไดผมสีขาว ใบไมสีเขียวในฟลมจะเปนสีแดง ถาเปนฟลมขาวดํา สีขาว ของเสื้อจะดําจัด สวนสีอื่น ๆ เชน สีเขียว สีแดงสีจะออกโทนสีเทา สีที่เขมมากบนฟลมจะออกสี เทาออน ในทางตรงกันขาม วัตถุสีออนบนฟลมจะออกสีเทาเขม เมื่อตองการใหไดภาพที่มีสีตรงตามความเปนจริงตองนําไปอัดขยายลงบนกระดาษ อัดภาพ ซึ่งสามารถเลือกขนาดภาพที่จะอัดขยายไดตามตองการ เชน ฟลม Konica XG100, Kodacolor Gold 400, Fujicolor Super G 200 เปนตน 
ประโยชนของฟลมเนกาทิฟ ใชในการถายภาพทั่ว ๆ ไป และในงานพิธีตาง ๆ เชน งานมงคลสมรส งานบวช งานพระราชทานปริญญาบัตร การทองเที่ยว เปนตน

ฟลมรีเวอรแซล
เรียกอีกอยางวา ฟลมสไลด (Slide Film) เปนฟลมที่ใหสีตรงตามความเปนจริง ซึ่ง ตางจากฟลมเนกาทิฟ หมายความวาสิ่งที่ถายมีสีอยางไร ภาพที่ปรากฏบนฟลมก็จะไดสีนั้นไมผิดเพี้ยน เมื่อลางฟลมเสร็จแลวมักใสในกรอบ ขนาด 2” x 2” อาจจะทําดวยกระดาษหรือพลาสติก เพื่อใหงายตอการใชงานและการเก็บรักษา หนึ่งกรอบ (หนึ่งภาพ) เรียกวา “หนึ่งเฟรม” (Frame) เชน Kodak Ektachrome Select 100 X, Fujichrome Provia 100 เปนตน
ประโยชนของฟลมฟลมรีเวอรแซล ใชในการทําชุดสไลด เพื่อฉายขึ้นจอเพื่อบรรยาย สัมมนา ฝกอบรมและการเรียนการสอน ใชในอุตสาหกรรมการพิมพ เชน ปกนิตยสาร ปฏิทิน ส.ค.ส. โปสเตอร ฯลฯ

การเก็บรักษาฟลม
เพื่อเปนการรักษาฟลมใหมีความคงทน จึงควรปฏิบัติดังตอไปนี้
1. เก็บใหหางจากความชื้นและแสงแดด
2. ใหไกลจากสารเคมีบางชนิด ซึ่งจะไปทํ าอันตรายตอฟลมได เชน
 ฟอรมาลิน, ไฮโดรเจนซัลไฟด, แอมโมเนีย เปนตน
3. ไกลจากทีวีและที่ที่มีแสงรังสีเอ็กซ (X-Rays)
4. เก็บในที่มืดและอุณหภูมิตํ่ ากวา 25 ํ C
ในกรณีที่มีฟลมยังไมไดใช อาจจะเก็บไวในตูเย็น โดยการนํ าฟลมใสลงในถุงพลาสติก
มัดปากถุงใหแนนแลวไวในชองเก็บ เมื่อตองการใชใหนํ าฟลมออกจากตูเย็น ทิ้งไวใหอุณหภูมิของ
ฟลมเทาอุณหภูมิหองเสียกอน แลวจึงแกะกลองบรรจุฟลมใสฟลมเขากลอง เพื่อที่จะนํ าไปถาย
ภาพตอไป


ฟลมเนกาทิฟ

ฟลมรีเวอรแซล

เลนสถายภาพ

เลนส (Lens) 
    เปนสวนประกอบที่สําคัญที่สุดของกลองถายภาพ เปนวัสดุที่ทํามาจาก แกวหรือพลาสติกใสคุณภาพสูง จัดรวมกันเปนกลุมหรือมีเพียงชิ้นเดียวก็ได อยูภายในกระบอก เลนส เลนสทําหนาที่หักเหแสงที่สะทอนจากวัตถุพุงเขามาภายในกระบอกเลนส เพื่อใหไดภาพที่ คมชัดที่สุด ดังนั้นในขณะใชกลอง ตองระวังไมใหเลนสมีริ้วรอยขีดขวนหรือสกปรกได

ลัษณะของเลนสถายภาพ
    เลนสถายภาพ จะประกอบดวยแกวเลนสเพียงชิ้นเดียว หรือหลายชิ้นในกระบอกเดียว กันก็ได และภายในกระบอกเดียวกันจะมีการจัดวางตํ าแหนงของชิ้นเลนสออกเปนกลุม ๆ แตก ตางกันออกไป ตามแตผูผลิตนั้น ๆ นํ าออกมาจํ าหนายทองตลาด นักถายภาพไดแบงเลนสออกเปนกลุม โดยการกําหนดความยาวโฟกัสของเลนส ความยาวโฟกัสของเลนส (Lens Focal Length) หมายถึง ระยะทางจากศูนยกลางโฟกัสของเลนส (Optical Center of Lens) ถึงระนาบโฟกัสของภาพหรือฟลม เมื่อเลนสตั้งระยะความชัด ไวที่อินฟนิตี (Infinity = ∝) ความยาวโฟกัสมีหนวยเปนมิลลิเมตร ยกตัวอยาง เชน มีเลนสตัว
หนึ่งความยาวโฟกัส 105 ม.ม. นํ าเลนสตัวนี้ไปโฟกัสวัตถุที่อินฟนิตี ระยะจากจุดศูนยกลางของ เลนสถึงระนาบฟลมจะเทากับ 105 ม.ม. เปนตน

ความไวแสงของเลนส (Lens Speed)
    ความไวแสงของเลนส หมายถึงความสามารถของเลนสที่ยอมใหแสงผานเขาไป เมื่อ เปดรูรับแสงกวางที่สุด ซึ่งทราบไดจากตัวเลข ที่แสดงไวที่วงแหวนหนาเลนส

ประเภทของเลนสถายภาพ
    เลนสแบงออกเปนชนิดตาง ๆ ไดตามความยาวโฟกัส ดังนี้
    1. เลนสมุมกวางพิเศษ
    2. เลนสมุมกวาง
    3. เลนสมาตรฐาน
    4. เลนสถายไกล
    5. เลนสแมคโคร
    6. เลนสซูม

เลนสมุมกวางพิเศษ (Fish Eye Lens)
    เปนเลนสที่มีความยาวโฟกัสระหวาง 6-16 ม.ม. มุมรับภาพกวาง 180-220 องศา บาง ทีเรียกวา
เลนสตาปลา เพราะมีลักษณะคลายตาปลา ภาพที่ไดจากการถายดวยเลนสนี้ จะได ภาพที่เปนแนวโคงยิ่งความยาวโฟกัสสั้น ยิ่งโคงจนเปนวงกลมและมีสัดสวนที่ผิดไปจากความจริง มาก นิยมใชถายภาพ
สถาปตย

เลนสมุมกวาง (Wide Angle Lens)
    มีความยาวโฟกัส 24-40 ม.ม. มุมรับภาพ 62-82 องศา เหมาะที่จะใชถายภาพใน สถานที่แคบ ๆ หรือเมื่อตองการภาพมุมกวาง เพื่อเก็บรายละเอียดของพื้นที่ใหไดมาก ๆ ภาพที่ได จากการถายดวยเลนสนี้ จะมีความชัดลึกมาก แตก็มีขอเสียตรงที่จะใหสัดสวนที่ผิดจากความเปน จริง จึงควรงดเวนการนําเลนสที่ตํ่ากวา F = 35 ม.ม. ไปถายภาพบุคคล มิฉะนั้นใบหนา รูปราง จะบิดเบี้ยว ขาดความสวยงาม

เลนสมาตรฐาน (Normal Lens)
    เปนเลนสตัวแรกที่นักถายภาพรูจัก เพราะเปนเลนสที่ติดมากับกลอง โดยเฉพาะกลองชนิดถอด เปลี่ยนเลนสไมได อยางกลองวิวไฟนเดอร เลนสมาตรฐานเปนเลนสที่มีมุมรับภาพ ใกลเคียงกับ ดวงตาของมนุษยมากที่สุด เหมาะที่จะใชถายภาพทั่วไป มีความยาวโฟกัสเทากับ F = 50 ม.ม. ในกลองสะทอนภาพเลนสเดี่ยว สวนกลองวิวไฟนเดอรจะเปน F = 40 ม.ม.เลนสมาตรฐานนี้ใชงานไดกวางมาก ไมวาจะเปนการถายภาพทิวทัศน ถายภาพบุคคลภาพชีวิตความเปนอยูของผูคน ภาพกิจกรรมในครอบครัว ฯลฯ ความไวแสงของเลนส มีมาก ทําใหสามารถถายภาพในที่มีแสงนอยไดดี ใหภาพที่มีความคมชัดสูง

เลนสถายไกล (Telephoto Lens)
    เปนเลนสที่ใชถายวัตถุที่อยูไกลออกไป เหมาะกับการถายภาพกีฬา ภาพสัตวปาและ ภาพบุคคล มีความยาวโฟกัสตั้งแต F = 70 ม.ม. ขึ้นไป มีมุมรับภาพแคบและความชัดลึกนอย จึงเหมาะที่จะใชถายภาพที่มีฉากหลังรุงรัง หรือบริเวณรอบขางมีสิ่งรบกวนสายตา เลนสถายไกล ใหภาพที่มีสัดสวนถูกตองตามความเปนจริง จึงนิยมใชถายภาพบุคคล เลนสถายไกลขนาด 105 ม.ม. ,135 ม.ม. จะเหมาะที่สุด สวนภาพกีฬาอาจตองใชขนาด F = 500 ม.ม. หรือมากกวา

เลนสแมโคร (Macro Lens)
    เลนสแมโครเปนเลนสพิเศษ ที่สรางมาสํ าหรับถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็กเพื่อใหไดภาพ โตเต็มกรอบฟลม เชน ภาพดอกไม ภาพแมลง ภาพสิ่งของเล็ก ๆ เชนเดียวกับเลนสโคลสอัพ แตใหคุณภาพของภาพดีกวามาก เลนสแมโครออกแบบมาใหถายในระยะใกล 2-3 นิ้วได และยัง ถายเปนเลนสปกติไดอีกดวย เลนสแมโครที่พบมากเปนขนาด F = 50 ม.ม. และ F = 105 ม.ม.

เลนสซูม (Zoom Lens)
    เลนสซูม เปนกลุมเลนสชุดหนึ่ง ที่สามารถปรับเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนสได โดยการเลื่อนหรือหมุนกระบอกเลนส มีผลทํ าใหชุดเลนสภายในกระบอกเลนสเปลี่ยนตําแหนง ทําใหกํ าลังขยายของเลนสเปลี่ยนไป นั่นคือ เปนการรวมความยาวโฟกัสหลาย ๆ ความยาวโฟกัส มารวมในเลนสตัวเดียวกัน 
ทําใหเกิดความสะดวกในการถายภาพ ที่ไมตองเปลี่ยนเลนสบอย ๆ หรือไมตองขยับตัวผูถายใหเข ใกลหรือถอยหางสิ่งที่ตองการถายภาพ แตจะปรับที่เลนสซูมแทน เลนสซูมจะเขียนความยาวโฟกัส เปนชวง เชน F = 35-105 ม.ม. F = 70-210 ม.ม. เปนตน แมเลนสซูมจะใหความสะดวกที่ไมตองแบกเลนสหลายตัวเมื่อตองเดินทางไกล แตก็มีขอ จํากัด เชน รูรับแสงคอนขางเล็กประมาณ F 3.5 หรือ F4 เนื่องจากมีเลนสหลายอันภายใน กระบอกเลนส ทําใหความไวแสงของเลนสนอยลงนั่นเอง

การระวังรักษาและทําความสะอาดเลนส
    ปจจุบันนี้ เลนสสวนใหญจะฉาบดวยสารพิเศษกันการสะทอนแสง บนผิวของเลนสชั้น
นอกสุด สารเคลือบผิวเลนสนี้มีความคงทนตอการเช็ดถู หากทํ าความสะอาดเลนสอยางถูกวิธี
และดูแลรักษาอยางถูกตอง นักถายภาพจะตองระวังรักษาไมใหเลนสถูกฝุนผง หากพบวามีฝุนผงเกาะเปอนบริเวณผิวเลนส จะตองเปาฝุนผงเหลานั้น ออกดวยกระเปาะเปาลมหรือสเปรยลม (AirFlow) แลวจึงเช็ดดวยกระดาษเช็ดเลนสอีกครั้ง หามใชปากเปาเปนอันขาด เพราะลมปากมีไอนํ้า จะทําใหเลนสเปยกชื้นและขึ้นราไดงาย ควรเปาลมอยางระมัดระวัง ใชลมเบา ๆ เพราะการใชลม เปาที่แรง จะทํ าใหฝุนผงเสียดสีกับผิวเลนส เกิดประจุไฟฟาสถิตยและทํ าใหฝุนผงเกาะเลนสแนน ยิ่งขึ้น

การทําความสะอาดเลนสอีกวิธี โดยการใชนํ้ายาทําความสะอาดเลนส 1-2 หยด หยด ตรงกึ่งกลางเลนส จากนั้นใชกระดาษเช็ดเลนส หรือหนังชามัวร (Photo Chamois) ถูผิวเลนส อยางนิ่มนวล โดยถูเปนกนหอยจากกึ่งกลางเลนสไปยังขอบเลนส เพื่อใหนํ้ ายาเช็ดเลนสกระจาย ทั่วผิวเลนส นํ้ ายาที่ใชเช็ดแวนตาหรือนํ้ ายาจํ าพวกที่มีซิลิโคน (Silicone) หรือมีสารกันหมอก (Antifogging) เปนสวนผสม หามนํ ามาใชเช็ดเลนสอยางเด็ดขาด เพราะสวนผสมเหลานี้จะไป ทําลายสารเคลือบผิวเลนส ทํ าใหภาพพรามัวขาดความคมชัดได หลังจากเช็ดเลนสดวยนํ้ายาเช็ด เลนสแลว เช็ดซํ้ าอีกครั้งดวยกระดาษเช็ดเลนสที่แหง เพื่อใหเลนสแหงสนิท ขั้นสุดทายเปาลม ดวยกระเปาะเปาลม เพื่อขจัดขุยกระดาษเช็ดเลนสที่คางอยูบนผิวเลนส หากวิธีการดังกลาวยังใช ไมไดผล ขอแนะนํ าใหสงรานซอมกลองโดยเฉพาะจัดการใหจะดีกวา โดยเฉพาะหากตองทํ าความ สะอาดดานในของเลนส (Cohen. 1984 : 90-91) นักถายภาพควรใชกลองดวยความระมัดระวัง ไมใหไปกระทบกับของแข็งหรือตกหลน โดยเฉพาะอยางยิ่งหากเลนสตกพื้นจากที่สูง จะตองไดรับการตรวจเช็คดานการรับแสงที่คลาด เคลื่อน และกลไกการทำงานอื่น ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง กลไกควบคุมการเปดปดรูรับแสง


ชนิดของกลองถายภาพ

กลองขนาดเล็ก 110 (Pocket Camera)
    กลองขนาดเล็กนี้บางทีเรียกวา กลองซับมินิเอเจอร (Subminiature Camera) มี ขนาดเล็ก ใชงานงาย มีกลไกไมซับซอน ราคาถูก เลนสมีคุณภาพไมดี ใชกับฟลมแบบตลับ ขนาด 16 ม.ม. ฟลมมีขนาดเล็ก เปนกลองที่ไมตองการคุณภาพของภาพดีนัก กลองแบบนี้นิยม ใชถายภาพในครอบครัว พกพาไดสะดวก



กลองขนาด 35 ม.ม. วิวไฟนเดอร (Viewfinder)
    เปนกลองที่ใชกับฟลมขนาด 35 ม.ม. เปนกลองขนาดกลาง พกพาสะดวก ใชงานงาย นักถายภาพสมัครเลนนิยมใชอยางแพรหลาย กลองนี้มีเลนสมาตรฐานติดมาตายตัวขนาด 40 ม.ม. ไมสามารถอดเปลี่ยนเลนสได ความเร็วชัตเตอรสามารถปรับเปลี่ยนไดหลายระดับ ชองมองภาพเปนกระจกเหนือเลนส ทําใหกรอบภาพที่มองเห็นคลาดเคลื่อนจากภาพที่ถายไดเล็ก นอย ถาใชรวมกับเลนสโคลสอัพ (close up) จะทํ าใหภาพที่ไดเหลื่อมจากที่มองผานวิวไฟนเดอร เมื่อถายตองกะระยะ เผื่อความเหลื่อมของเลนสดวยกลองแบบนี้เหมาะกับนักถายภาพสมัครเลน ที่ตองการใชกลองราคาไมแพงนัก คุณ ภาพปานกลาง เหมาะที่จะใชถายภาพภายในคอรบครัว การเดินทางทองเที่ยวและถายภาพ เปน ที่ระลึก ไดแก Nikon 35 Ti, Yashica MF 2, Konica HEXAR เปนตน



กลองขนาด 35 ม.ม. สะทอนภาพเลนสเดี่ยว (Single Lens Reflex)
    กลองนี้เรียกวา กลองสะทอนภาพเลนสเดี่ยว ใชกับฟลม 35 ม.ม. เชนเดียวกับกลองแบบวิวไฟนเดอร อาจเรียกยอวา กลอง SLR มีขนาดใหญกวากลองแบบวิวไฟนเดอรเล็กนอย มี ราคาคอนขางแพง ขอดีของกลองแบบนี้ คือ ประการที่หนึ่ง สามารถถอดเปลี่ยนเลนสได ทําให้ใชงานไดกวางมาก เพราะมีเลนสหลายขนาดใหเลือกใช ตามความเหมาะสมกับงานนั้น เชน ภาพกีฬา ภาพสัตวปา จะใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสมาก เชน เลนสถายไกล (Telephoto) ภาพ ดอกไม สิ่งของที่มีขนาดเล็ก ใชเลนสโคลสอัพเปนตน ประการที่สอง ภาพที่มองเห็น จากชอง มองภาพ จะคลอบคลุมพื้นที่เทากับภาพที่ถายได ไมวาจะใชเลนสขนาดใด ทํ าใหการจัดองค ประกอบภาพแมนยํ ายิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีอุปกรณประกอบ ที่สามารถนํ ามาใชรวม เชน มอเตอรไดรฟ (Motor Drive), เบลโลวส (Bellows) เปนตน ในกลองบางรุนมีระบบการทํ างาน อัตโนมัติเพิ่มเขามา เชน ปรับหนากลองอัตโนมัติ ปรับความเร็วชัตเตอรอัตโนมัติ อยางใดอยาง หนึ่งหรือทั้งสองอยาง ตัวอยางกลองสะทอนภาพเลนสเดี่ยว ไดแก Nikon FM 2. Nikon F4, Canon F1, Yashica FX 3 เปนตน



กลอง 120 สะทอนภาพเลนสเดี่ยว
    กลองนี้มีระบบการทํ างานคลายกลอง 35 ม.ม. สะทอนภาพเลนสเดี่ยว แตมีขนาดใหญกวา มีรูปรางสี่เหลี่ยมคลายกลองบอกช เปนกลองที่มืออาชีพนิยมใชกันมาก ระบบการมองภาพเปนการมองในระดับเอวเหมือนกลองสะทอนภาพเลนสคู (Twin Lens Reflex) ใชกับฟลมขนาด 120 ภาพที่ไดจะมีขนาด 4.5 × 6, 6 × 6 หรือ 6 × 7 ซ.ม.กลอง 120 สะทอนภาพเลนสเดี่ยวนี้ สามารถถอดเปลี่ยนเลนสไดเชนเดียวกับกลองสะทอนภาพเลนสเดี่ยว ทํ าใหสะดวกในการถายภาพแบบตาง ๆ มีจําหนายหลายรุนดวยกัน เชน
Hasselblad 2000 FC, Bronica SQ, Pentax 6×7, Mamiya RB 67 เปนตน ภาพที่ไดจากกลอง แบบนี้มักนํ าไปใชในงานพิมพ เชน ทําปฏิทิน ทําปกนิตยสาร ฯลฯ 



กลองสะทอนภาพเลนสคู (Twin Lens Reflex)
    กลองนี้จะมีเลนสสองตัวความยาวโฟกัสเทากัน โดยที่เลนสตัวบนมีหนาที่มองภาพ สวนเลนสตัวลางทําหนาที่รับแสงเขาสูฟลม กลองแบบนี้เปลี่ยนเลนสไมได ในการปรับโฟกัส เลนสทั้งสองจะทํ างานสัมพันธกัน เพื่อใหไดภาพตามที่ตองการภาพที่ไดจากการมองจะกลับซาย ขวา การใชงานคอนขางยุงยาก การขึ้นชัตเตอรกับการขึ้นฟลม ตองกระทํ าแยกจากกัน ปจจุบัน จึงไมเปนที่นิยม ไดแก Mamiya C 330, Rolleiflex 3.5 เปนตน ฟลมที่ใชยังคงเปน ขนาด 120



กลองสตูดิโอ (Studio) หรือ กลองวิว (View Camera)
    เปนกลองที่ใชกับฟลมแผนขนาด 4×5 นิ้ว ตัวกลองมีขนาดใหญ ตรงกลางตัวกลองทํา ดวยหนังสีดําพับเปนจีบ ๆ หรือที่เรียกวาเบลโลวส สามารถยึดเขาออกได เปนกลองที่เหมาะสําหรับถายภาพบุคคล ภาพสถาปตยกรรม ภาพตกแตงภายในตาง ๆ กลองที่รูจักกันดีไดแก Linhof, Sina รานถายภาพทั่วไปใชเปนกลองประจําราน


กลองถายภาพสํ าเร็จรูป (Instant Camera)
    กลองโพลารอยด (Polaroid) เปนกลองแรกที่ผลิตออกมาจํ าหนายในทองตลาด เมื่อ ถายแลวใหไดภาพทันที คือ มีกระบวนการลางฟลมและอัดกระดาษอยูภายในตัวกลอง เมื่อกด ชัตเตอรแลว กลไกภายในกลองจะทํ างานลางฟลมและอัดภาพไดโดยอัตโนมัติ ใชเวลาประมาณ 10 - 12 วินาทีก็จะไดภาพออกมา ฟลมที่ใชก็ตองเปนฟลมที่ใชกับกลองถายภาพแบบนี้โดยเฉพาะ เชน Polaroid Spectra Pro, Polaroid 636 เปนตน

สวนประกอบและระบบการทํางานของกลองถายภาพ

ตัวกลอง (Camera Body)
    ตัวกลอง นักถายภาพมักเรียกทับศัพทวา “บอดี้” (Body) ตัวกลองเปนเสมือนหองมืด
ขนาดเล็ก คอยปองกันแสงสวางที่ไมตองการเขากลอง มักทํ าดวยโลหะหรือพลาสติกแข็ง
ลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มีความหนาประมาณนิ้วครึ่งเพื่อใหจับกระชับมือเวลาถาย ภายใน
มีที่วางพอที่จะบรรจุฟลมได ฉาบดวยสีดํ าทั้งหมดและเปนสี่ดาน เพื่อปองกันการสะทอนแสงภาย
ในตัวกลอง ตัวกลองยังมีกลไกตาง ๆ ที่ชวยในการถายภาพตั้งอยู เชน ชัตเตอร ปุมกรอฟลม
กลับ ที่ตั้งความไวแสงของฟลม วงแหวนปรับโฟกัส ฯลฯ




เลนส (Lens)
    เลนสเปนอุปกรณที่ทํ าจากแกวใสที่มีคุณภาพสูง เปนสวนที่มีราคาแพงที่สุดในกลอง
ถายภาพ กลองที่มีราคาถูกเลนสอาจทํ าดวยพลาสติก ลักษณะเปนเลนสอันเดียว ในกลองที่มี
ราคาแพงจะเปนกลุมเลนสหลายอันมาเรียงตอกัน ภายในกระบอกเลนส มีประมาณ 5 - 7 อัน มี
ทั้งเลนสนูนและเลนสเวา เลนสทํ าหนาที่หักเหแสง ที่สะทอนจากวัตถุผานเลนสเขาไปภายในกลอง
ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับตกกระทบบนฟลม ภาพที่ไดมีคุณภาพดีหรือไม เลนสเปนสวนสําคัญที่
สุดนอกจากนี้เลนสถูกออกแบบมา ใหสามารถแกสีที่เพี้ยนและแกความคลาดเคลื่อนของ
รูปทรงใหถูกตองตามความเปนจริงอีกดวย ผิวเลนสจะเคลือบดวยสารเคมีปองกันแสงสะทอน ดัง
นั้น ควรเช็ดเลนสอยางนุมนวล ดวยหนังชามัวร หรือกระดาษเช็ดเลนสที่ผลิตมาเพื่อการนี้โดย
เฉพาะเทานั้น เลนสที่ใชกับกลองแตละแบบ มีขนาดแตกตางกันออกไป โดยจัดแบงตามความยาว
โฟกัส (Focus) ของเลนส หรือเปลี่ยนเลนสไดหลายขนาด ในกลองบางรุน ซึ่งจะไดกลาวในเรื่อง
ของเลนสโดยเฉพาะตอไป





ไดอะแฟรม (Diaphragm)
     ภายในกระบอกเลนสจะมีแผนโลหะบางสีดํ า ลักษณะเปนกลีบเรียงซอนกัน เมื่อปรับ
วงแหวนปรับรูรับแสง กลีบโลหะจะขยับทํ าใหรูรับแสงมีขนาดเล็ก หรือเปดกวางไดตามตองการ
ดังนั้น รูรับแสงจึงทํ าหนาที่กํ าหนดปริมาณของแสงที่เขากลอง รูรับแสงเล็กแสงจะเขาไดนอย รูรับ
แสงที่กวางแสงก็เขาไดมาก รูรับแสงขนาดตาง ๆ จะถูกกํ ากับดวยตัวเลขเพื่อใหทราบขนาดของรู
รับแสง ดานนอกของกระบอกเลนส จะเปนวงแหวนใหหมุนไปมาได จึงเรียกอีกอยางวา
“วงแหวนปรับรูรับแสง” (Aperture Ring)






ชัตเตอร (Shutter)
     ชัตเตอรมีลักษณะเปนมานที่ทํ าดวยผาหรือแผนโลหะบางสีดํา ตั้งอยูระหวางเลนสกับ
ฟลม มีกลไกบังคับใหชัตเตอรเปดปดได เรียกวา “ไกชัดเตอร” และสามารถกําหนดเวลาการเปด
ปดชัตเตอรไดนานเทาที่ตองการ โดยการปรับที่ปุมความเร็วชัตเตอร ซึ่งอยูตําแหนงติดกับไกชัต
เตอร สังเกตไดโดยมีเลขกํากับไดแก B 1 2 4 8 15 30 60 125 250 500 เรียงตาม
ลําดับเลขเหลานี้เปนเลขสวนของเศษหนึ่ง มีหนวยเปนวินาที เมื่อปรับปุมความเร็วชัตเตอรไปที่เลข 1 หมายความวา เมื่อเรากดไกชัดเตอร ชัตเตอร ชัตเตอรจะเปดใหแสงผานเขาไปกระทบกับฟลม เปนเวลา 1/1 วินาที ซึ่งก็คือชัตเตอรเปดอยูนาน 1 วินาที ถาปรับไปที่เลข 2 ชัตเตอรจะเปดนาน 1/2 วินาที (ครึ่งวินาที) ถาเปนเลข 125 ชัตเตอร จะเปดโดยใชเวลานอยลง คือ 1/125 วินาที (เศษหนึ่งสวนหนึ่งรอยยี่สิบหาวินาที) ซึ่งเร็วมากจน ตามองแทบไมเห็น นอกจากชุดตัวเลขความเร็วชัตเตอรแลว บนปุมปรับความเร็วชัตเตอรนี้ยังมีตัวอักษร “B” รวมอยูดวย ยอมาจากคําวา Brief Time แปลวา ชวงเวลาสั้น ๆ ใชกับการถายภาพที่ตองการ ความเร็วชัตเตอรนานกวา 1 วินาที โดยเมื่อตั้งความเร็วชัตเตอรที่ B เมื่อกดไกชัตเตอรจะเปดคางไว จนกวาจะปลอยนิ้วที่กดไกชัตเตอร ชัตเตอรจึงจะปด มีไวสํ าหรับใชถายภาพในที่ที่มีแสงนอย มาก ๆ เชน ไฟตามทองถนน แสงไฟในงานเทศกาลตาง ๆ ในเวลาคํ่ าคืน เราสามารถ
ถายตั้งแตหลาย ๆ วินาที จนถึงหลาย ๆ ชั่วโมง ทั้งนี้ผูถายตองจับเวลาเอาเองและจัดใหกลองนิ่ง
ที่สุด จึงนิยมใชคูกับขาตั้งกลอง (Tripod)



วงแหวนปรับโฟกัส (Focusing Ring)
     มักจะอยูขอบกระบอกเลนสของกลอง สามารถปรับไดโดยการหมุนเลื่อนไปทางซาย
หรือขวา มีตัวเลขเขียนบนวงแหวนสองชุดเรียงเปนแถว มีตัวอักษรกํากับคือ M และ Ft โดยที่
M เปนหนวยของระยะทางเปนเมตร และ Ft มีหนวยเปนฟุต ในกลองถายภาพที่มีราคาถูก อาจ
จะใชรูปภาพแทนตัวเลขก็ได้เมื่อเราปรับโฟกัสเลนสจะยึดออก และเมื่อหมุนไปทางตรงขามเลนสก็จะหดเขา เพื่อใหไดภาพที่ชัดตามที่ตองการ ในการปรับโฟกัส (ปรับความคมชัด)




สวนประกอบอื่น ๆ
ชองมองภาพ (Viewfinder)
    ใชสําหรับมองดูวัตถุที่จะถาย เพื่อจัดองคประกอบของภาพ และใชเปนจอรับภาพ เพื่อ
ที่นักถายภาพจะไดเห็นลักษณะ และขอบเขตของภาพที่จะบันทึกบนฟลม รวมทั้งความคมชัด
นอกจากนี้ภายในกลองบางตัว ยังมีเครื่องวัดแสงซึ่งอาจเปนเข็มหรือสัญญาณไฟ เพื่อบอกใหรูวา
แสงขณะนั้นเปนเชนไร จะไดปรับกลองใหไดนอรมอล (Normal) ในกลองบางตัวยังอํานวย
ความสะดวกเพิ่มขึ้นอีก โดยการเพิ่มตัวเลขบอกขนาดหนากลองและความเร็วชัดเตอร จะไดไม
ตองละสายตามามองดานนอกกลอง ทํ าใหเสียเวลา

ที่ตั้งความไวแสงของฟลม (Film Speed Dial)
    เนื่องจากฟลมในทองตลาด มีความไวแสงหลายระดับใหเลือกใช เพื่อใหเหมาะกับงาน
แตละอยาง สภาพแสงแตละแบบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองบอกกับกลอง วาขณะนี้ใชฟลมอะไร
อยูเพื่อที่เครื่องวัดแสงในกลอง จะไดวัดแสงไดอยางถูกตอง ในกลองบางรุนมีระบบอานรหัสดี
เอ็กซ (DX Code) ซึ่งสามารถตรวจไดเอง วามีฟลมชนิดใดอยูในกลองก็นับวาสะดวกดี โดยทั่วไปตําแหนงที่ปรับตั้งความไวแสง จะอยูรวมกับปุมที่ตั้งความเร็วชัดเตอรหรือที่ กรอฟลมกลับที่ใดที่หนึ่ง สังเกตไดโดยที่จะมีตัวอักษร ASA หรือ ISO กํากับ ซึ่งคือหนวยความ ไวแสงของฟลมนั่นเอง

ปุมลั่นไกชัตเตอร (Shutter Release Button)
    ปุมนี้มักอยูสวนบนของกลองดานขวามือ ตรงตําแหนงที่สามารถวางนิ้วชี้ไดพอดี เพื่อ
สะดวกในการกดไกชัตเตอร เมื่อจะถายก็เพียงแตกดลงเบา ๆ ในกลองบางรุน การกดลงไปเล็ก
นอย เปนการเปดเครื่องวัดแสงของกลองดวย

คานเลื่อนฟลม (Film Advance Lever)
    สวนใหญเปนคานสามารถงางหมุนได โดยใชนิ้วหัวแมโปงงางหมุนไป ทําหนาที่เลื่อน
ฟลมที่ถายแลวใหเคลื่อนที่ไป โดยใหฟลมที่ยังไมไดถายเคลื่อนเขามาแทนที่ เพื่อรอการถายภาพ
ตอไป การขึ้นฟลมจะรวมถึงการขึ้นชัตเตอรดวยพรอมกันไป แตถาเปนกลองสะทอนภาพเลนสคู
ที่ขึ้นฟลมกับที่ขึ้นชัตเตอรจะแยกจากกัน ผูถายจะตองขึ้นไกชัตเตอรทุกครั้ง หลังจากขึ้นฟลมแลว

ตัวเลขบอกจํ านวนภาพ (Film Counter Number)
    บนตัวกลองจะมีที่บอกจํ านวนฟลม เพื่อใหผูถายไดทราบวา ถายภาพไปแลวเทาไร
และยังคงเหลืออีกกี่ภาพที่ยังไมไดถาย

ฐานเสียบแฟลช (Hot Shoe)
    เปนชองสํ าหรับเสียบฐานแฟลชเขากับตัวกลอง เพื่อใหแฟลชติดกับตัวกลองตั้งอยูสวน
บนของกลอง ที่ฐานแฟลชนี้จะมีหนาสัมผัสโลหะใหแฟลชสัมผัสได เพื่อที่วาขณะที่ถายชัดเตอรจะ
ลั่นไกพรอมกับการสวางของแฟลช ดังนั้นจึงไมตองมีสายแฟลชเชื่อมตออีก

ชองเสียบสายแฟลช (Flash Socket)
    ในกรณีกลองบางตัวไมมีฐานเสียบแฟลช หรือตองการถายโดยแยกแฟลชออกจาก
กลอง จะตองใชสายแฟลชตอเชื่อม โดยเสียบเขาที่ชองเสียบ ซึ่งมีตัวอักษร X กํากับ

ที่ถายเองอัตโนมัติ (Self Timer Lever)
    การไปถายภาพภายนอกสถานที่ตามลําพัง หรือตองการถายคนทั้งกลุมรวมทั้งคนถาย
ดวย ในที่นั้นอาจจะหาใครชวยถายไมได ที่ถายเองอัตโนมัติจะชวยไดโดยการหมุนปุมนี้แลวจัด
ภาพใหสวยงาม อยาลืมกันที่สํ าหรับคนถายดวย จากนั้นกดไกชัตเตอรกอนที่ชัตเตอรจะลั่นไก มี
เวลาประมาณ 10 - 15 วินาที ที่คนถายจะวิ่งไปยืนในตําแหนงที่เตรียมไว

ที่กรอฟลมกลับ (Film Rewind Button)
    ตํำแหนงที่จะกลาวถึงสุดทาย ในเรื่องสวนประกอบของกลองถายภาพไดแกที่กรอฟลม
กลับ เมื่อถายภาพจนฟลมหมดมวน จําเปนที่จะตองกรอฟลมกลับเขากลักฟลมเพื่อนําไปลาง
ตอไป ในการกรอฟลม จะตองปลดลอคกันฟลมหมุนกลับเสียกอน โดยการกดปุมใตฐานกลอง
จากนั้นก็จะสามารถกรอฟลมกลับโดยงาย กรอจนแนใจวา ฟลมกลับเขากลักหมดแลว จึงเปดฝา
หลังกลอง นํ าฟลมออกจากกลองเพื่อนําไปลางตอไป

    สวนประกอบของกลองที่กลาวมา เปนสิ่งที่กลองโดยทั่วไปมี แตก็ยังมีบางกลอง ที่มี
สวนประกอบเพิ่มเติมมากกวานี้ เพื่ออํานวยความสะดวกในการถายและราคาก็สูงตามไปดวย
โดยเฉพาะกลองรุนใหม ๆ ที่มีระบบไมโครคอมพิวเตอรบรรจุอยูภายใน อยางไรก็ตามนักถายภาพ
ก็สามารถทราบกลไกที่เพิ่มมานั้นไดจากคูมือ (Manual) ที่แนบมาใหพรอมกลอง ดังนั้น จึงไม
ควรละเลยหรือทิ้งไปโดยไมไดอานอยางเด็ดขาด

ประโยชนทางการศึกษาของภาพถาย

    มนุษยสมัยโบราณไดจํ าลองสิ่งที่พบเห็นรอบ ๆ ตัว โดยการขีดเขียนไวตามผนังถํ้าที่ตน
อาศัยอยู ลักษณะของภาพเปนเพียงเคาโครงอยางงาย มีลายเสนไมกี่เสนคลายการตูนหัวไมขีด
ภาพเหลานี้เปนเสมือนสมุดภาพเลมใหญ ที่บันทึกวิถีชีวิตความเปนอยู ความเชื่อ ที่ตนมีไวใหผู
คนในสมัยตอมา ไดศึกษาความเปนมาตอไป



    สิ่งมีชีวิตในโลกไดมีการวิวัฒนาการอยางไมหยุดยั้ง ชีวิตที่ออนแอลาหลังไมอาจดํารง
เผาพันธุอยูได ความพยายามบันทึกภาพตาง ๆ ในอดีต โดยการเขียนจนไดรับการพัฒนาเครื่อง
มือใหมาเปนกลองถายภาพในปจจุบัน

    ภาพถายไดเขามาเกี่ยวของอยางมาก ในชีวิตประจํ าวันของคนเรา ไมวาจะดวยขอดีใน
สวนของตัวมันเอง ที่ใหการรับรูไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือความกาวหนาดานเทคโนโลยีการ
ถายภาพ ไดรับการพัฒนาใหรุดหนาอยางไมหยุดยั้ง ไมวาจะเปนกลองถายภาพ ฟลมและ
อุปกรณใชงานไดงาย ราคาไมแพงและมีคุณภาพสูง มีระบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติเขามาชวย
อีกแรง จึงมักพบเห็นภาพปรากฏอยูทั่วไปทั้งในบาน โรงเรียน ตามทองถนน อาจอยูในรูปของ
ปฏิทิน หนังสือเรียน ภาพโฆษณา ฯลฯ

ประโยชนทางการศึกษาของภาพถาย
ประโยชนของภาพถายมีมากมาย ทั้งที่เกี่ยวของกับวงการศึกษา และไมเกี่ยวของ ในที่
นี้จะขอกลาวเฉพาะ ประโยชนในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษา ซึ่งขอสรุปเปนขอๆ ดังนี้
1. ภาพถายชวยเราความสนใจผูเรียน ทํ าใหเกิดความกระตือรือรนที่จะเรียน
2. สามารถนําเหตุการณ สถานที่ที่อยูหางไกล เขามาใหนักเรียนไดเห็นในหองเรียนได
3. ภาพถายสามารถนํ ามาดูซํ้ ากี่ครั้งก็ไดตามตองการ หรือใชเพื่อทบทวนเตือนความจํา
 ทั้งนี้เพราะภาพถ่ายเปนสื่อทางตา รับรูไดดีกวาประสาทสัมผัสอื่นๆ และมีความ 
 คงทนถาวรกวา
4. เหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีต สามารถบันทึกเปนภาพถาย เพื่อนํ ามาศึกษาไดทั้งใน
 ปจจุบันและอนาคต
5. สิ่งที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว จนสายตาของคนเราไมสามารถมองตามทัน แต
 กลองถายภาพสามารถบันทึกการเคลื่อนไหว และนําภาพถ่ายนั้นมาศึกษาราย
 ละเอียดได้
6. เนื่องจากภาพถายมีความคงทน จึงสามารถใชไดทุกโอกาสที่ตองการโดยไมจํากัด
เวลา เปนการประหยัดงบประมาณ
7. ภาพถายสามารถทําสําเนาไดมากเทาที่ตองการ แจกจายไปตามสถานศึกษาอื่น ๆ
ได
8. ภาพถายทําใหผูเรียนเขาใจตรงกัน เพียงคําอธิบายของครู นักเรียนอาจเขาใจผิด
ได เชน ครูตองการใหนักเรียนรูจักชาง วามีรูปรางอยางไร คําอธิบายเพียงอยาง
เดียว จะตองใชเวลามากและอาจเขาใจไมตรงกัน ถาครูนําภาพมาใหดู ก็หมด
ปญหา
9. เราสามารถดัดแปลงรูปภาพ เพื่อใชในดานการเรียนการสอน ใหตรงตามจุดมุง
 หมาย เชน นําภาพถ่ายไปทําเปนภาพลายเสน เพื่อการอธิบายที่งายยิ่งขึ้น

ประวัติการถายภาพ

     การถายภาพนั้นเริ่มมีมานานหลายพันปแลว แตเทาที่พอจะมีหลักฐานอยูในสมัยของ
พวกชาลดีน (chaldean) และชาวอียิปต ซึ่งตองเดินทางในทะเลทรายที่รอนระอุ เมื่อถึงเวลาบาย
แดดรอนจัด ก็จะหยุดพักโดยการกางเต็นท (กระโจมที่พัก) เพื่อใหคนและอูฐไดพักผอน กิน
อาหาร นํ้ า กอนที่จะเดินทางตอไป เมื่อเขาไปภายในเต็นทที่พัก ซึ่งมีความสวางนอยกวาดาน
นอก ไดสังเกตเห็นลํ าแสงของดวงอาทิตย สองลอดผานรูเต็นทเขามาภายใน เขามากระทบกับผา
เต็นทอีกดานหนึ่ง ซึ่งเปนดานตรงขามทํ าใหเห็นรูปรางของวัตถุสิ่งของขึ้น เชน สัมภาระ สัตว
เลี้ยง ตนไม โดยเงาที่ปรากฏจะเปนเงาหัวกลับ ปรากฏการณนี่เองเปนหลักเบื้องตนของการถาย
ภาพ

    การถายภาพตรงกับภาษาอังกฤษวา Photography มีรากศัพทมาจากคําในภาษากรีก
โบราณสองคํ า คือ โฟโตส (Photos) และกราโฟ (Grapho)
    โฟโตส แปลวา แสงสวาง
    กราโฟ แปลวา ฉันเขียน
    ดังนั้น เมื่อรวมคํ าสองคําเขาดวยกัน จึงมีความหมายวา "ฉันเขียนดวยแสงสวาง"
(To Draw with Light) ปจจุบันไดใหความหมายที่เขาใจกันโดยทั่วไปวา วิธีการทําใหเกิดภาพ
โดยอาศัยแสงไปกระทบวัสดุไวแสง จากความหมายดังกลาว วิชาการถายภาพจึงเปนวิชาที่วา
ดวยการนํ าศิลปะและศาสตร มาเขียนภาพโดยใชแสงนั่นเอง
    
    ประวัติการถายภาพเริ่มตนกันอยางจริงจัง เมื่อประมาณ พ.ศ. 1643 โดยชนชาติกรีก
ไดรูจักกลองชนิดหนึ่ง เรียกวากลองออบสคิวรา (Obscura Camera) ซึ่งสรางขึ้นจากหลักการของ
แสง สองผานรูขนาดเล็กเขาไปในหองที่มืด ทําใหเกิดภาพขึ้น โดยภาพของวัตถุที่อยูภายนอก
กลอง จะสะทอนแสงแลวสองผานรูของกลอง เขาไปปรากฏเปนภาพที่ผนังกลอง ตรงขามกับ
ดานที่เปนรูเล็ก ๆ นั้นและเปนภาพหัวกลับ
    
    มีอีกคําที่ควรรูจัก คือ คําวาคาเมรา (Camera) แปลวา “การถายภาพ” มาจากภาษา
ลาติน แปลวา หองมืด

    ลีโอนาโด ดาวินซี (Leonardo Da Vinci) เปนทั้งนักวิทยาศาสตรและศิลปนชาวอิตา
เลียน (พ.ศ.1995-2062) ไดทําการศึกษากลองออบสคิวรา พรอมทั้งปรับปรุงแกไข ทานไดบันทึก
หลักการทํ างานของกลองออบสคิวรา ตลอดจนวิธีสรางและวิธีใชกลองออบสคิวราไวอยาง
สมบูรณในป พ.ศ. 2033 งานเขียนชิ้นนี้เปนที่แพรหลายไปสูผูสนใจมากมาย

หน้าแรก

บทนำ

    ภาพถ่ายได้ถูกจัดว่าเป็นวัสดุที่ใช้เป็นพื้นฐานในการผลิตสื่อ อาจเป็นเพราะว่าสื่อแทบทุกชนิดที่นสนใจ มักจะมีภาพถ่ายประกอบอยู่ด้วยเสมอ เคยมีผู้กล่าวว่า ภาพ 1 ภาพ มีความหมายมากกว่าคำพันคำถ้านักสื่อสารสามารถนำภาพถ่ายมาใช้ในการผลิตสื่อแต่ละชนิด ก็จะช่วยให้การสื่อความหมายได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

     การถ่ายภาพได้กลายเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับนักสื่อสารและนักนิเทศศาสตร์ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อโดยตรง เพื่องานส่งเสริมและเผยแพร่ การนำภาพนิ่งที่ได้จากการถ่ายภาพมานำเสนอ จัดพิมพ์เป็นเอกสาร ใช้อธิบายความหมาย เช่น การผลิตแผ่นโฆษณาประชาสัมพันธ์ ประกอบข่าว, นิตยสาร, ตำรา ฯลฯ หรือจัดทำเป็นภาพนิ่ง ใช้จัดนิทรรศการ ย่อมน่าสนใจกว่าสื่ออื่นที่ไม่ใช้ภาพประกอบแน่นอน

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
-เพื่อต้องการให้ผู้รับมีความรู้เรื่อง ในเรื่องการถ่ายภาพ
-เพื่อสร้างความตระหนักการถ่ายภาพอย่างถูกต้อง
-เพื่อให้ผู้รับสามารถที่จะเข้าใจได้ง่าย


สำหรับ
กลุ่ม บุคคลทั่วไป